Page 14 - InsuranceJournal125
P. 14
รอบรู้ประกันภัย
อัตราการเพิ่มของประชากรทั้งหมด วัยเด็ก วัยท�างานและวัยสูงอายุ (สมมติฐานภาวะเจริญพันธุ์ระดับปานกลาง)
ที่มา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
�
ั
�
สาเหตุท่ทาให้จานวนประชากรผู้สูงอายุต้งแต่ 60 ปีข้นไปมีแนวโน้มท่เพ่มสูงข้นน้น เป็นผลสืบเน่องมาจากอัตราการเจริญพันธุ์รวม
ี
ึ
ั
ื
ึ
ี
ิ
(Total Fertility Rate) ลดลงและอายุคาดหมายคงชีพโดยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy at Birth) ของประชากรไทยทั้งชายและหญิงมี
การเพิ่มขึ้น “อายุคาดหมายคงชีพเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด” คือ ความยืนยาวของชีวิตตั้งแต่เกิดจนตายมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งเพศชายและหญิง
โดยปี 2553-2558 ประมาณการว่าอายุคาดหมายคงชีพเมื่อแรกเกิดของเพศชายและเพศหญิง คือ 70.97 ปี และ 77.67 ปีตามล�าดับ และเมื่อถึง
ปี 2598-2603 อายุคาดหมายคงชีพเมื่อแรกเกิดของเพศชายและเพศหญิงเพิ่มขึ้นเป็น 79.69 ปี และ 84.16 ปีตามล�าดับ ในส่วน “อายุคาดหมาย
คงชีพเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี” คือ อายุที่คาดว่าจะยืนยาวต่อไปหลังจากอายุ 60 ปี ก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเพศหญิงจะมีอายุที่ยืนยาว
กว่าเพศชาย ในขณะที่อายุคาดหมายคงชีพเฉลี่ยเมื่ออายุ 80 ปี ทั้งเพศชายและเพศหญิงก็มีทิศทางที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน
อายุคาดหมายคงชีพเฉลี่ยเพศชายและหญิงเมื่อแรกเกิด เมื่ออายุ 60 ปี และเมื่ออายุ 80 ปี (สมมติฐานภาวะเจริญพันธุ์ระดับปานกลาง)
ที่มา: World Population Prospects The 2012 Revision. United Nations
ส�าหรับ “อัตราการเจริญพันธุ์รวม” หรือจ�านวนบุตรโดยเฉลี่ยที่สตรีคนหนึ่งมีตลอดวัยเจริญพันธุ์ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503-2508 มีอัตรา
เจริญพันธุ์ประมาณ 6.13 คนต่อสตรี 1 คน และมีแนวโน้มลดลงตลอดมาจนเหลือประมาณ 1.41 คน และ 1.43 คนต่อสตรี 1 คน ในปี พ.ศ.
2553-2558 และปี พ.ศ. 2568-2573 ตามล�าดับ
14 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 125