Page 23 - InsuranceJournal127
P. 23
เรื่องเด่น
ในต่างประเทศ ได้มีการน�ากลไกการประกันภัยพืชผลมาใช้นานแล้วและมีวิธีการร่วมมือของภาครัฐและภาคเอกชนในรูปแบบต่างๆ
ตั้งแต่การสนับสนุนค่าเบี้ยประกันภัย ไปจนถึงการรับประกันภัยต่อโดยรัฐ (รายละเอียดตามตารางที่ 1)
ตารางที่ 1: ตัวอย่างความร่วมมือของภาครัฐและเอกชนผู้รับประกันภัยในการขับเคลื่อนกลไกการประกันภัยพืชผล
รูปแบบการสนับสนุนกลไกการประกันภัยจากรัฐ
ปีที่เริ่มด�าเนินการ รัฐร่วมเป็นผู้รับ การอุดหนุนค่าเบี้ย การสนับสนุนค่า การสนับสนุน การรับประกันภัย
ประเทศ
(ค.ศ.) ประกันภัยกับ ประกันภัย บริหารจัดการ การวิจัยและ ต่อโดยรัฐ
ภาคเอกชน พัฒนา
ประเทศพัฒนาแล้ว
สหรัฐอเมริกา ทศวรรษที่ 1930 ไม่มี มี มี มี มี
แคนาดา ทศวรรษที่ 1970 ไม่มี มี มี มี มี
สเปน 1980 มี มี ไม่มี ไม่มี มี
โปรตุเกส 1979 ไม่มี มี ไม่มี ไม่มี มี
อิตาลี ทศวรรษที่ 1970 ไม่มี มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฝรั่งเศส 2005 ไม่มี มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ประเทศก�าลังพัฒนา
อินเดีย 1985 ไม่มี มี มี ไม่มี มี
ฟิลิปปินส์ 1980 ไม่มี มี มี ไม่มี ไม่มี
จีน ทศวรรษที่ 1950 มี มี มี ไม่มี มี
บราซิล ทศวรรษที่ 1950 ไม่มี มี มี ไม่มี มี
เม็กซิโก 1990 ไม่มี มี ไม่มี มี มี
ชิลี 2000 ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี
โคลัมเบีย 2000 ไม่มี มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เกาหลีใต้ 2001 มี มี มี ไม่มี มี
ตุรกี 2005 มี มี ไม่มี ไม่มี มี
ที่มา: การศึกษาของธนาคารโลก (Government Support to Agricultural Insurance: Challenges and Options for Developing Countries, 2010)
ในประเทศไทย งบประมาณของรัฐในการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยธรรมชาติเฉลี่ย 11 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ถึง 2557 อยู่ที่
7,838 ล้านบาท โดยปี พ.ศ. 2552 มีภาระงบประมาณต�่าสุดอยู่ที่ 1,354 ล้านบาท และปี พ.ศ. 2554 มีภาระงบประมาณสูงสุดที่ 31,220 ล้าน
บาท ภัยหลักของประเทศไทย ที่รัฐใช้เงินงบประมาณช่วยเหลือสูงสุด 3 ประเภท คือ ภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วง และภัยน�้าท่วม (รายละเอียดปรากฏตาม
ตารางที่ 2 และแผนภาพที่ 1)
วารสารประกันภัย เดือนเมษายน-มิถุนายน 2558 23