Page 25 - InsuranceJournal127
P. 25
เรื่องเด่น
ตารางที่ 3: รูปแบบของการประกันภัยพืชผล
ผลิตภัณฑ์ประกันภัย ประเภทของภัยที่รับประกัน วงเงินความคุ้มครอง การจ่ายค่าสินไหมทดแทน ข้อดี ข้อจ�ากัด
1. แบบดั้งเดิม การประเมินความเสียหายเป็นการประเมินที่แปลงผลิต
1.1 แบบก�าหนดชนิดภัย • เหมาะส�าหรับภัย เช่น เกษตรกรสามารถเลือกวงเงิน ตั้งอยู่บนความเสียหายทาง • ไม่มีความเสี่ยงพื้นฐาน
(Named Peril) ลูกเห็บ ไฟไหม้ ต่าง ๆ ได้ภายในขอบเขต กายภาพโดยวัดเป็นร้อยละของ (basis risk) ที่การจ่าย
ใช้แพร่หลายในหลาย น�้าค้างแข็ง ซึ่งก่อให้เกิด ที่ก�าหนด ความเสียหายแล้วคูณกับวงเงิน ค่าสินไหมทดแทนไม่ตรง
ประเทศ ความเสียหายที่กะทันหัน ประกันและลบด้วยการรับผิด กับความเสียหายที่
ความคุ้มครองที่พบบ่อย ส่วนแรก (deductible) ที่ เกิดขึ้นจริง
ที่สุดคือ ประกันภัยลูกเห็บ เกษตรกรรับความเสี่ยงไว้เอง • ต้องใช้ผู้เจรจาตกลงค่า
• ไม่เหมาะกับภัยที่มี สินไหมทดแทน (loss
ความซับซ้อน เช่น adjusters) ที่มี
ภัยแล้ง และแมลง ประสบการณ์สูง
ศัตรูพืช
1.2 การประกันผลผลิต ภัยธรรมชาติทุกประเภท ปริมาณผลผลิตที่เอา ถ้าปริมาณผลผลิตจริง (actual • ให้ความคุ้มครองที่ • ไม่มีความเสี่ยงพื้นฐาน
แบบรวมหลายภัย ประกันภัย คูณราคาล่วงหน้า yield) น้อยกว่าปริมาณ ครอบคลุมทุกภัยที่เกิดขึ้น (basis risk)
(Multiple Peril Crop (forward price) ของผลผลิต ผลผลิตที่เอาประกันภัย • พื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็ก • อาจพบปัญหาการเลือก
Insurance - MPCI) ส�าหรับเดือนที่จะเก็บเกี่ยวหรือ (insured yield) ค่าสินไหม ที่ขัดแย้ง (adverse
ใช้ในประเทศ วงเงินกู้ที่เกษตรกรกู้มาลงทุน ทดแทนเท่ากับผลต่างของ selection) คือผู้ที่มี
สหรัฐอเมริกา เพาะปลูก ปริมาณผลผลิตต่อไร่ที่ ความเสี่ยงสูงเลือกท�า
และแคนาดา เอาประกันภัยและผลผลิตจริง ประกันภัย และปัญหาภัย
คูณกับราคาล่วงหน้าและ ทางศีลธรรม (moral
จ�านวนไร่ที่เอาประกันภัย hazard) ที่พฤติกรรมของ
ผู้เอาประกันภัยมีอิทธิพล
ต่อการได้รับค่าสินไหม
ทดแทน
• ค่าเบี้ยประกันภัยสูง
• ต้นทุนการบริหาร
จัดการสูง
• ส่วนใหญ่ต้องพึ่งพาการ
อุดหนุนจากรัฐสูง
2. การประกันภัยแบบที่ใช้ดัชนี การประเมินความเสียหายใช้ดัชนีที่ก�าหนดไว้ล่วงหน้า
2.1 การประกันภัยแบบดัชนี ภัยธรรมชาติและชีวภาพ ปริมาณผลผลิตที่เอาประกันภัย ผลต่างระหว่างปริมาณผลผลิต • เหมาะกับภัยที่กระทบ • ต้องมีข้อมูลผลผลิต
ผลผลิตของเขตพื้นที่ ทุกชนิด คูณราคาล่วงหน้า (forward จริงเฉลี่ย (actual average เป็นวงกว้าง ของพื้นที่ที่มีความถูกต้อง
(Area Yield Index price) ของผลผลิตเดือนที่จะ yield) ของเขตพื้นที่ • ไม่ค่อยพบปัญหาการ น่าเชื่อถือ
Insurance) เก็บเกี่ยว เอาประกัน ภัยกับปริมาณ เลือกที่ขัดแย้ง (adverse • การวัดผลผลิตจริงเฉลี่ยใน
• เกษตรกรทุกคนที่อยู่ใน ผลผลิตที่เอาประกันภัยคูณกับ selection) และภาวะภัย เขตพื้นที่เอาประกันภัย
เขตพื้นที่เอาประกันภัย ราคาล่วงหน้าและจ�านวนไร่ที่ ทางศีลธรรม (moral อย่างแม่นย�าท�าได้ยาก
เดียวกันถือว่าได้รับ เอาประกันภัย hazard) ส่งผลต่อการยอมรับของ
ความเสียหายเท่ากัน โดย เกษตรกร
ความเสียหายนั้นถูก
ประเมินโดยใช้ข้อมูล
ผลผลิตจริงประจ�าปี
ของเขตพนที่เอาประกันภัย
ื้
ที่ประกาศไว้ล่วงหน้า
ตามที่ได้ตกลงกันไว้
• ใช้ในประเทศอินเดีย
แคนาดา สหรัฐอเมริกา
และบราซิล
2.2 การประกันภัยโดยใช้ดัชนี จ�ากัดเพียงตัวแปรทางสภาพ ส่วนใหญ่จะใช้ต้นทุนการผลิต ใช้การวัดค่าตัวแปรสภาพ • เหมาะส�าหรับการประกันภัย • ไม่มีการเลือกที่ขัดแย้ง
สภาพอากาศ (Weather อากาศซึ่งวัดที่สถานีตรวจวัด อากาศเพียงอย่างเดียวตาม เดี่ยวที่มีความร้ายแรง และไม่มีภาวะภัยทาง
Index Crop Insurance) ที่ใกล้ที่สุด เช่น ปริมาณน�้าฝน สูตรที่ได้ก�าหนดไว้ในกรมธรรม์ • เป็นมาตรฐาน โปร่งใส ศีลธรรม
• ไม่มีการประเมิน และ อุณหภูมิ • มีความเสี่ยงพื้นฐาน
ความเสียหายที่แปลงปลูก (basis risk)
วารสารประกันภัย เดือนเมษายน-มิถุนายน 2558 25