Page 26 - InsuranceJournal127
P. 26
เรื่องเด่น
ผลิตภัณฑ์ประกันภัย ประเภทของภัยที่รับประกัน วงเงินความคุ้มครอง การจ่ายค่าสินไหมทดแทน ข้อดี ข้อจ�ากัด
ค่าดัชนีจะถูกวัดที่สถานี • ต้องท�าความเข้าใจกับ
ตรวจวัดอ้างอิง เกษตรกร
• ใช้ในประเทศอินเดีย • มีค่าใช้จ่ายสูงช่วงเริ่ม
เม็กซิโก มาลาวี แคนาดา โครงการ
และสหรัฐ • ไม่สามารถใช้กรมธรรม์
เดียวกันทุกที่ ต้องมีการ
ออกแบบดัชนีใหม่ให้
เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่
2.3 การประกันภัยแบบดัชนี ที่ผ่านมาใช้กับการประกันทุ่ง จ�านวนที่ตกลงกัน เช่น จ�านวน การจ่ายค่าสินไหมทดแทนถูก • ดัชนี NDVI มีความสัมพันธ์
การเจริญเติบโตของพืช หญ้าเลี้ยงสัตว์เท่านั้น ที่ก�าหนดต่อเฮกตาร์ ก�าหนดตามหลักการเดียวกับ ต�่ากับพืช เช่น ธัญพืช
(Normalized (hectare) หรือค่าใช้จ่ายใน ดัชนีสภาพอากาศ และข้าว
Difference Vegetation การเลี้ยงสัตว์ • ในหลายประเทศไม่มี
Index Insurance ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม
- NDVI) ย้อนหลังที่เพียงพอส�าหรับ
• ดัชนีการเจริญเติบโต การกาหนดค่าเบี้ย
�
ของพืชถูกวัดโดยใช้ ประกันภัย
ภาพถ่ายดาวเทียมเพียง
อย่างเดียว ค่าดัชนี
สะท้อนให้เห็นการ
เจริญเติบโตของพืชใน
ฤดูกาลหนึ่ง ๆ แล้วใช้ค่า
เปรียบเทียบกับฤดูกาลที่
ผ่านมา
• ใช้ในประเทศเม็กซิโก
สเปน แคนาดา
2.4 การประกันรายได้จาก รายได้ที่รับประกันก�าหนดเป็น ขึ้นกับกรณีที่ผลผลิตตกต�่า เหมาะที่จะเชื่อมโยงกับการให้ จ�าเป็นต้องมีตลาดสินค้า
พืชผล (Crop Revenue ร้อยละ (โดยปกติอยู่ที่ร้อยละ ราคา ตกต�่า หรือทั้งสองอย่าง สินเชอทางการเกษตร เนื่องจาก เกษตรล่วงหน้าที่ท�าหน้าที่ได้
ื่
Insurance) 60 -75) ของระดับผลผลิต โดยอัตราค่าสินไหมทดแทนใน ความสามารถในการจ่ายทั้ง อย่างมีประสิทธิภาพ
• เป็นส่วนผสมของการ เฉลี่ยย้อนหลังของเกษตรกร ส่วนของการประกันผลผลิต เงินต้นและดอกเบี้ยของ
ประกันภัยแบบหลายภัย คูณด้วยราคาล่วงหน้าของ ค�านวณโดยค�านึงถึงความ เกษตรกรขึ้นกับรายได้
กับการประกันราคา ผลผลิตส�าหรับเดือนที่จะเก็บ ผันแปรของระดับผลผลิตเฉลี่ย
• ใช้กับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกี่ยว รายปีย้อนหลังของเกษตรกร
และถั่วเหลืองในบางรัฐ และส่วนประกันราคาค�านวณ
ของสหรัฐอเมริกา โดยใช้ราคาตลาด
ที่มา: เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง (Workshop between Thailand and World Bank on Collaboration for a Stronger Thailand)
ระหว่างกระทรวงการคลังและธนาคารโลก เมื่อวันที่ 3-4 กรกฎาคม 2552 ณ เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
การประกันภัยพืชผลเป็นตัวอย่างหนึ่งของโครงการที่ภาคเอกชนผู้รับประกันภัยสามารถสนับสนุนเจตนารมณ์ของรัฐที่จะดูแลความเสยงภย
ี่
ั
ึ
�
ของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งภัยธรรมชาติ และส่งผลต่อเกษตรกรซ่งเป็นประชากรร้อยละ 35 ของประเทศ และดาเนินกิจกรรม
ในภาคส่วนที่มีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี การออกแบบผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้สามารถตอบสนองความต้องการของเกษตรกร
�
อาจจาเป็นต้องมีรูปแบบการประเมินที่มีความหลากหลายเช่นเดียวกับในต่างประเทศที่กล่าวมา การประเมินเพียงแค่วิธีเดียวอาจไม่ได้ตอบสนอง
�
กับความต้องการทั้งหมดของผู้เอาประกันภัย การสร้างความเข้าใจ การยอมรับ รวมทั้งการตระหนักรู้ในการดูแลความเสี่ยงภัยธรรมชาติ
จึงมีความจาเป็นที่ต้องด�าเนินการอย่างต่อเนื่องไปพร้อม ๆ กัน
�
26 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 127