Page 29 - InsuranceJournal127
P. 29
มุมนักคณิตศาสตร์ประกันภัย
มารู้จักกับนักคณิตศาสตร์ประกันภัยกันเถอะ
โดย พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน
FSA, FIA, FRM, FSAT
นายกสมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย
ฉบับนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ “นักคณิตศาสตร์ประกันภัย” “อย.” ก่อน เพราะไม่ใช่ว่าขายของไปแล้วเกิดมีอะไรผิดพลาดขึ้นมา
หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า “แอคชัวรี” (เผื่อเวลาที่ AEC เข้ามา ประชาชนหรือลูกค้าก็จะเป็นผู้ที่เดือดร้อนทีหลัง (ซึ่งจะเอากรมธรรม์
จะได้สื่อสารกันรู้เรื่อง) เพื่อให้รู้ว่าในวงการประกันภัยไทยนี้ยังมีอาชีพ ที่เป็นกระดาษมาทุบ ๆๆๆ เหมือนกับเวลาที่ซื้อรถยนต์แล้วไม่พอใจ
นี้อยู่ ไป ก็คงจะไม่ได้อะไรขึ้นมา)
เพราะธุรกิจประกันภัยเป็นธุรกิจที่รับเงิน (เบี้ยประกันภัย) บริษัทประกันภัยเลยต้องหาคนที่จะมาแก้ปัญหาปวดหัว
เข้ามาก่อน แล้วค่อยมีต้นทุน (จ่ายเคลม) เกิดขึ้นตามมาทีหลัง ซึ่ง เหล่านี้ก่อน จึงจะเปิดบริษัทหรือออกแบบประกันภัยให้เอาออกมา
ต้นทุนที่ว่านี้ก็ไม่ใช่อะไรที่รู้กันล่วงหน้าได้เหมือนต้นทุนของสบู่ ผง ขายได้ ซึ่งจะไปจ้างหมอดูมาก็คงจะไม่เหมาะ (แต่ถ้ามี AEC เข้ามา
ซักฟอก แต่ต้นทุนของบริษัทประกันภัยนั้นเป็นต้นทุนที่ไม่รู้ว่าจะเกิด แล้ว ก็คงจะจ้างหมอดูพม่าเข้ามาได้ง่ายขึ้น อาจจะดูขลังขึ้น) บริษัท
ขึ้นเมื่อไร (เช่น ไม่สบายเข้าโรงพยาบาลปีนี้ หรือปีหน้า) แล้วพอเกิด ประกันภัยจึงต้องควานหาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่รวมเอาเทคนิคทุก
ขึ้นก็ไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้นเท่าไร (เช่น ค่ารักษาพยาบาลตามบิล) ท�าให้ อย่างทางสถิติและทางการเงินมาหลอมรวมให้เข้ากับวิธีบริหาร
บริษัทประกันภัยปวดหัวไปตาม ๆ กัน เพราะไม่รู้ว่าธุรกิจที่ท�าอยู่จะ ความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย และนั่นก็คือ “แอคชัวรี”
ก�าไรหรือจะเจ๊ง
ก่อนจากกันในคราวนี้ เลยขอฝากบทสรุปว่า “แอคชัวรี คือ
และนี่ก็เป็นที่มาของการที่บริษัทประกันภัยไปสรรหาเทคนิค นักวิเคราะห์เหตุการณ์ในอดีต ประเมินความเสี่ยงในปัจจุบัน และสร้าง
�
�
ของการท�านายต้นทุน ซึ่งต้องอาศัยพื้นฐานความรู้ทางการเงิน การ แบบจาลองสาหรับคาดการณ์อนาคต ซึ่งแอคชัวรีจะพยากรณ์ไป
ลงทุนและสถิติ มาเป็นตัวช่วยให้ใจชื้นในการคานวณต้นทุนล่วงหน้า ข้างหน้าไกล ๆ เพื่อที่จะประเมินสถานการณ์ที่น่าจะเกิดขึ้นมากที่สุด
�
เพื่อที่จะออกแบบประกันภัยแบบหนึ่ง ๆ ขึ้นมาได้ รวมถงสิ่งที่ดที่สุดและแย่ที่สุดของแต่ละสถานการณ์” แอคชัวรจึงม ี
ี
ึ
ี
บทบาทและความรับผิดชอบทั้งต่อภาคธุรกิจ และต่อเสถียรภาพ
พอออกแบบเสร็จแล้วปรากฏว่าเอาไปขายได้ ก็มีสิ่งที่ท�าให้ ทางการเงินของสังคมส่วนรวม โดยมีหน้าที่ในการรักษาสมดุลในการ
ปวดหัวยิ่งกว่า น่นก็คือ การจะรู้ได้อย่างไรว่าต้นทุนที่ท�านายเอาไว้นั้น ดูแลผลประโยชน์ระหว่างลูกค้า ฝ่ายขาย และผู้ถือหุ้นอีกด้วย
ั
มันแม่นแล้ว บริษัทมีปัญญาหาเงินไปจ่ายคืนลูกค้าได้ (โดยไม่ขาดทุน)
บริษัทก็ต้องไปหาคนมาจัดการต้นทุนให้อยู่กะร่องกะรอย โดยบริหาร
ความเสี่ยงของการประกันภัยและการลงทุนให้เหมาะสม รวมถึง
�
ค�านวณผลกาไรและมูลค่าของบริษัทให้กับเจ้าของกิจการหรือนักลงทุน
�
ึ
ที่มาซื้อหุ้นของบริษัทให้ได้ด้วย ซ่งวิธีคานวณนั้นก็ไม่ง่ายเหมือน
ขายก๋วยเตี๋ยวที่รู้ทันทีว่าวันนี้ขายไปก่ชาม แล้วจะมีกาไรเท่าไร
ี
�
หน�าซ�้า ธุรกิจประกันภัยคือธุรกิจที่บรรเทาความเดือดร้อน
ให้ประชาชน เป็นธุรกิจที่ช่วยเหลือคน (ที่จ่ายเบี้ย) ยามที่เขาตกยาก
เวลาจะท�าอะไรขึ้นมาอย่างหนึ่งก็จะต้องผ่านการเห็นชอบและรับรอง
จากคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
�
(คปภ.) เสียก่อน ประมาณว่าจะผลิตยาตัวหนึ่งออกมาขายก็ต้องได้รับ
ที่มาภาพ: www.casstudentcentral.org
วารสารประกันภัย เดือนเมษายน-มิถุนายน 2558 29