Page 22 - InsuranceJournal128
P. 22
รอบรู้ประกันภัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) และหัวหน้าโครงการวิจัยเพ่อลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย
ื
�
ี
และ ดร. ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์ อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมโยธาและส่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล ท่ได้กรุณาให้ข้อช้แนะและความคิดเหน
ิ
ี
็
ที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดท�าบทความชิ้นนี้เป็นอย่างยิ่ง ซึ่ง บมจ.ไทยรับประกันภัยต่อ ต้องขอขอบพระคุณอาจารย์ทั้งสองท่านเป็นอย่างยิ่งที่ได้
กรุณาสละเวลาและเล็งเห็นถึงความส�าคัญของการสร้างองค์ความรู้ให้กับธุรกิจประกันวินาศภัยของประเทศไทยมา ณ โอกาสนี้ด้วย
ทฤษฎีว่าด้วยแผ่นเปลือกโลกและแนวกระจุกตัวของแผ่นดินไหว
่
่
ั
ื
้
ิ
้
ื
ี
�
่
้
้
็
็
็
่
่
่
ิ
่
ิ
ั
่
เหลานกวชาการเชอกนวาพนผวโลกประกอบไปดวยแผนเปลอกโลก (Plates) ทเปนแผนหนแขงขนาดใหญบางเลกบางจานวน 15 แผน
ื
3
ี
ี
ลอยตัวอยู่เหนือสสารท่มีลักษณะก่งแข็งก่งเหลวและยังร้อนอยู่ แผ่นเปลือกโลกเหล่าน้จึงมีการเคล่อนท่อยู่ตลอดเวลาในลักษณะท่เป็นไปได้ท้ง ั
ี
ื
ึ
ี
ึ
4
เคลื่อนเข้าหากัน แยกออกจากกัน หรือแม้กระทั่งไถลตัวขนานออกจากกัน ซึ่งการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในรูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้เองเป็นที่มา
5
ของปรากฏการณ์ทางธรณีต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลก เช่น ภูเขาไฟและแผ่นดินไหว เป็นต้น
ี
นักวิทยาศาสตร์ได้อธิบายถึงลักษณะการเกิดของแผ่นดินไหวไว้อย่างน่าสนใจว่า แผ่นดินไหวมักจะพบในบริเวณท่เป็นร่องและแนวสันเขา
ใต้น�้ากลางมหาสมุทร (Oceanic trenches and spreading ridges) เนื่องจากบริเวณดังกล่าวเป็นแหล่งก�าเนิดของเปลือกโลกที่อยู่บริเวณพื้น
ท้องมหาสมุทร (Oceanic crust) และเป็นบริเวณที่ธรณีภาคมหาสมุทร (Oceanic lithosphere) จมตัวลงสู่ชั้นเนื้อโลก (Mantle) ที่อยู่ใต้ร่อง
ึ
ี
ี
ี
�
�
้
หรือเหวใต้นากลางมหาสมุทร ซ่งบริเวณท่มักจะพบแผ่นดินไหวในโลกดังกล่าว ได้ถูกแสดงไว้ในแผนท่ข้างล่าง (รูปท่ 1) ท่ถูกเขียนข้นโดยผู้ชานาญ
ึ
ี
การแผ่นดินไหวชาวฝรั่งเศสชื่อ J.P. Rothé 6
แผ่นดินไหวในโลกมักจะพบในบริเวณ
1. Circum-Pacific belt
2. Mediterranean-Himalayan belt
รูปที่ 1: การกระจายตัวของแผ่นดินไหวในโลก
ที่มา: International Seismological Centre (www.isc.ac.uk)
นอกจากขอบของแผ่นเปลือกโลกแล้ว ศูนย์กลางแผ่นดินไหวส่วนใหญ่ยังจะพบได้แถวบริเวณรอยแตกในหินที่มีหลักฐานชี้ว่าได้เคยเกิด
การขยับตัวหรือเลื่อนในช่วง 10,000 ปีที่ผ่านมา รอยแตกที่มีลักษณะดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “รอยเลื่อนมีพลัง” รายละเอียดของรอย
เลื่อนมีพลังในบริบทของประเทศไทยจะได้ถูกอธิบายในหัวข้อถัดไป
3 วิชาการธรณีไทย, GeoThai.net (6.07.2558)
4 กรมทรัพยากรธรณี, www.dmr.go.th (7.07.2558)
5 U.S. Geological Survey, www.usgs.gov (6.07.2558)
6 U.S. Geological Survey, www.usgs.gov (6.07.2558)
22 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 128