Page 24 - InsuranceJournal128
P. 24
รอบรู้ประกันภัย
หลักฐานทางธรณีวิทยาต่างชี้ไปในทิศทางเดียวกันว่า รอยเลื่อนต่าง ๆ ที่พาดผ่านแหล่งชุมชนในหลายจังหวัดทางภาคเหนือมีโอกาสที่
จะก่อให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้ ซึ่งเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ที่จังหวัดเชียงรายเป็นเครื่องพิสูจน์ให้เห็น
ถึงความน่าจะเป็นดังกล่าว ข้อสังเกตที่น่าสนใจคือ แผ่นดินไหวในครั้งที่ผ่านมานั้น หากเกิดขึ้นใกล้ตัวเมืองเชียงรายซึ่งเป็นแหล่งชุมชนที่มีผู้คนอยู่
ี
กันอย่างหนาแน่นแล้ว ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจอาจจะไม่สามารถฟื้นตัวกลับมาได้เร็วเน่องมาจากว่าโครงสร้างของอาคารท่ถูกสร้างข้นมาอย่าง
ื
ึ
ต่อเนื่องไม่ได้ถูกออกแบบมาให้รองรับกับปรากฏการณ์แผ่นดินไหวแต่อย่างไร
ื
ี
�
ี
�
นอกจากรอยเล่อนท่อยู่บริเวณภาคเหนือท่มีโอกาสเป็นแหล่งกาเนิดของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้แล้ว รอยเล่อนสาคัญท่น่าจับตามองท ี ่
ี
ื
วางตัวอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศในบริเวณจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดตาก คือ รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์
และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ นักวิชาการมีความเห็นว่า ทั้งสองรอยเลื่อนนี้สามารถที่จะเป็นแหล่งของแผ่นดินไหวที่มีขนาดตั้งแต่ 6.5 ถึง 7.5 โดย
มีคาบของการเกิดซ�้าเร็วที่สุดได้ตั้งแต่ 440 ปี ถึง 1,240 ปีโดยประมาณ (Ornthammarath, T., et.al.)
ทางภาคใต้ของประเทศเองก็มีแหล่งกาเนิดของแผ่นดินไหวในระดับท่ก่อให้
�
ี
เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงด้วยเช่นกัน แต่โอกาสท่จะเกิดเหตุการณ์เหล่าน้นได้
ี
ั
�
�
ี
ี
ื
่
ถูกประเมินไว้ว่าน่าจะอยู่ในระดับท่ค่อนข้างตามาก รอยเล่อนทางภาคใต้ท่สาคัญ ได้แก่
รอยเลื่อนระนองและรอยเลื่อนคลองมะรุ่ย (ตามที่ได้แสดงในรูปที่ 2) ขนาดของแผ่น
ดินไหวใหญ่ที่สุดที่จะเกิดจากทั้งสองรอยเลื่อนคาดว่าจะมีขนาดได้ตั้งแต่ 7.4 ถึง 7.6
เลยทีเดียว (Ornthammarath, T., et.al.) ซึ่งตามมาตรฐานสากลแล้ว แผ่นดินไหว
�
ี
ี
ี
�
ั
ี
ท่มีขนาดใหญ่เช่นน้ จะมีผลทาให้อาคารท่ต้งอยู่บริเวณท่ไม่ไกลจากจุดกาเนิดได้รับ
ความเสียหายเป็นอย่างมาก และผลกระทบที่เกิดขึ้นสามารถตรวจพบได้ไกลถึง 400
�
กิโลเมตร นับจากตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว จากการศึกษาของกรมทรัพยากรธรณ ี
เป็นท่น่าสนใจว่า แผ่นดินไหวท่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประเทศไทยมิได้
ี
ี
ั
ึ
ี
จากัดอยู่แค่เพียงเหตุการณ์ท่เกิดข้นในประเทศเท่าน้น หากแต่ยังรวมไปถึงแผ่นดิน
�
ไหวที่มีจุดก�าเนิดจากภายนอกประเทศอีกด้วย จากรูปที่ 1 แสดงให้เห็นว่า แนวของ
ึ
แผ่นดินไหวท่เคยเกิดข้นภายนอกและใกล้กับประเทศไทยจะเป็นพ้นท่บริเวณตอน
ื
ี
ี
เหนือ และทางซ้ายหรือทางทิศตะวันตกของประเทศ จากสถิติพบว่า การสั่นไหวของ
รูปที่ 4: ต�าแหน่งของ Subduction Zone แผ่นดินในบริเวณดังกล่าวมีขนาดค่อนข้างใหญ่อยู่บ่อยคร้ง โดยขนาดของแผ่นดินไหว
ั
ที่อยู่ทางซ้ายของประเทศไทย (พื้นที่ SD-A, SD-B และ SD-C) 9
ึ
ื
ี
ี
ที่มา: Ornthammarath, T., et.al. สูงสุดท่เคยวัดได้เม่อประมาณ 70 ปีท่แล้วมีระดับสูงถึง Ms 7.8 ซ่งเป็นขนาดแผ่นดิน
ไหวที่ใกล้เคียงกับเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในประเทศเนปาลเมื่อปลายเดือนเมษายนที่
ผ่านมา
เขตการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก หรือที่เรียกว่า Subduction Zone ที่อยู่ถัดออกไปทางด้านซ้ายของประเทศไทย (ดังแสดงในรูปที่ 4
ั
บริเวณท่กาหนดเป็น SD-A, SD-B และ SD-C) ได้ถูกประเมินจากผู้เช่ยวชาญแล้วว่ามีโอกาสท่จะเป็นต้นกาเนิดของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้ต้งแต่
�
ี
ี
�
ี
8.1 จนกระทั่งถึง 9.2 (Ornthammarath, T., el.al.) ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงดังที่ได้คาดไว้ จะมีผลกระทบต่อประเทศไทย ดังเช่นเหตุการณ์แผ่นดิน
ไหวขนาดระหว่าง 9.1 ถึง 9.3 ที่เคยเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547
9 Ornthammarath, T. et.al., Apirl 2011, Probabilistic seismic hazard assessment for Thailand, Bulletin of Earthquake Engineering, Volume
9, Issue 2, pp. 367-394
24 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 128