Page 25 - InsuranceJournal128
P. 25
รอบรู้ประกันภัย
ธรณีพิบัติภัยกับกรุงเทพมหานคร
�
ื
ี
ี
สาหรับพ้นท่ท่มีประชากรอยู่อย่างหนาแน่นและเป็นเขตเศรษฐกิจ
ที่มีความเจริญมากที่สุดของประเทศ คือ กรุงเทพมหานครและจังหวัดที่ตั้ง
อยู่โดยรอบ ได้แก่ จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัด
10
สมุทรปราการ และจังหวัดสมุทรสาคร ถึงแม้ ณ ปัจจุบันยังไม่มีรายงาน
ใดท่ระบุถึงรอยเล่อนท่ได้พาดผ่านพ้นท่เหล่าน้ แต่ก็มีรอยเล่อนท่อยู่ห่าง
ี
ื
ี
ี
ื
ี
ี
ื
จากกรุงเทพมหานครเพียงแค่ประมาณ 100 กิโลเมตร และก�าลังเป็นที่ถก
ี
ื
เถียงของเหล่านักธรณีวิทยาถึงการมีพลังของรอยเล่อนท่เป็นท่รู้จักกันใน
ี
ช่อของ รอยเล่อนนครนายก หากรอยเล่อนดังกล่าวมีพลังจริงดังท ี ่
ื
ื
ื
ี
ั
ื
ื
ผู้เช่ยวชาญหลายท่านได้ต้งสมมติฐานไว้ การเคล่อนตัวของรอยเล่อนน ้ ี
ก็จะก่อให้เกิดผลกระทบกับหลายจังหวัดในภาคกลาง โดยเฉพาะ รูปที่ 5: ลักษณะธรณีสันฐานของประเทศไทย
กรุงเทพมหานครที่มีอาคารสูง 12 ถึง 20 ชั้นเป็นจ�านวน 789 หลัง และ ที่มา: ศ.ดร. เป็นหนึ่ง วานิชชัย
อาคารที่สูงเกิน 20 ชั้นขึ้นไปเป็นจ�านวนมากถึง 645 หลัง 11
นอกจากแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศจะเป็นภัยคุกคามที่น่าจับตามองแล้ว พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลยังมีความอ่อนไหว
ต่อเหตุการณ์แผ่นดินไหวจากระยะไกลอีกเช่นกัน เนื่องจากพื้นฐานโครงสร้างทางธรณีวิทยาของเขตเศรษฐกิจที่ส�าคัญเหล่านี้เป็นชั้นดินอ่อนมาก
(ดังแสดงในรูปที่ 5) จากการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญแผ่นดินไหวพบว่า ชั้นดินลักษณะนี้จะสามารถขยายแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวได้มากถึง
3-4 เท่าเม่อเทียบกับลักษณะดินประเภทอ่น ๆ ตัวอย่างเมืองท่มีประชากรหนาแน่นเกือบ 10 ล้านคน ท่ต้งอยู่บนช้นดินลักษณะเช่นเดียวกันน ้ ี
ี
ื
ั
ั
ี
ื
คือ Mexico City ผลจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มีขนาด 7 ถึง 8 ในปี 2528 และมีจุดก�าเนิดห่างจากเมืองไกลกว่า 350 กิโลเมตร ได้ก่อให้เกิด
ื
ั
ึ
ี
ความเสียหายอย่างมากมายมหาศาล เน่องจากช้นดินท่ Mexico City ต้งอยู่เป็นช้นดินตะกอน ซ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับกรณีของกรุงเทพมหานคร
ั
ั
อย่างไรก็ตาม รศ.ดร. สุทธิศักด์ ศรลัมพ์ ประธานอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ิ
ได้ให้ความเห็นว่า จริงอยู่ที่ชั้นดินของทั้งสองเมืองเป็นชั้นดินอ่อน แต่เมื่อศึกษาในรายละเอียดพบว่า รูปร่างลักษณะธรณีสัณฐานของแอ่งตะกอน
ที่ราบลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาที่กรุงเทพมหานครตั้งอยู่ มีลักษณะแข็งตัวและหนากว่าชั้นดินตะกอนที่พบที่ Mexico City ดังนั้น กรุงเทพมหานครจึง
ี
ไม่ได้มีความเส่ยงจากแผ่นดินไหวท่รุนแรงเท่ากับ Mexico City ถึงแม้กระน้นก็ตาม แผ่นดินไหวระยะไกลคาดว่าจะส่งผลกระทบต่ออาคารท่ม ี
ี
ี
ั
ความสูงตั้งแต่ 6 ชั้นขึ้นไปที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร 12
ผลที่ได้จากการศึกษาล่าสุดของ ศ.ดร. เป็นหนึ่ง วานิชชัย และคณะสอดคล้องกับข้อสรุปที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นที่ว่า แผ่นดินไหวขนาดใหญ่
ี
ระยะไกลจะส่งผลกระทบต่ออาคารสูงจานวนมากท่ต้งอยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เน่องจากลักษณะพ้นท่บริเวณน้เป็นดินอ่อนท่สามารถ
�
ี
ื
ื
ั
ี
ี
ี
ั
ขยายความรุนแรงของแผ่นดินไหวได้มากถึง 3 เท่า และเม่อความถ่ของแผ่นดินไหวตรงกับความถ่ในการโยกตัวของอาคารจนเกิดการส่นพ้องหรือ
ื
ี
ึ
กาทอนแล้ว ก็จะทาให้อาคารเกิดการโยกตัวอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก ซ่งอาคารสูงบางหลังอาจเสียหายรุนแรงจนพังถล่ม
�
�
ลงมาได้ จากกรณีจ�าลองเหตุการณ์แผ่นดินไหวระยะไกลที่มีคาบการเกิดซ�้า 2,500 ปี หรือแต่ละปีมีโอกาสที่จะเกิดแผ่นดินไหวลักษณะเช่นนี้ขึ้น
ี
ึ
�
ได้ 0.04% (ไม่เกิดข้นบ่อย แต่มีขนาดและสร้างผลกระทบท่มีความรุนแรงสูง) จะส่งผลทาให้อาคารสูงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลพังถล่มได้
10 พื้นที่เหล่านี้มีประชากรที่ระบุในทะเบียนราษฎรจ�านวนประมาณ 1,300 คนต่อตารางกิโลเมตร (เฉลี่ยของทั้งประเทศอยู่ที่ 127 คนต่อตารางกิโลเมตร) และ
เป็นพื้นที่ที่สร้างรายได้ให้กับประเทศสูงถึง 5.4 ล้านล้านบาทในปี 2556 หรือคิดเป็น 41.8% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในปี 2556 (GDP ของประเทศไทยในปี
2556 มีค่า 12.9 ล้านล้านบาท) ตามสถิติที่ได้รวบรวมโดยส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
11 ศ.ดร. เป็นหนึ่ง วานิชชัย, “ภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย”, งานสัมมนา Possible Earthquake Scenarios for the Thailand Insurance Market, 29
กันยายน 2557
12 วิศวกรรมปฐพีกับธรณีภัย, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, 8-10 พฤษภาคม 2556
วารสารประกันภัย เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2558 25