Page 26 - InsuranceJournal128
P. 26
รอบรู้ประกันภัย
ตั้งแต่ 4 จนถึง 17 หลัง โดยมูลค่าเฉลี่ยของอาคารมีค่าตั้งแต่ 500 ถึง 1,700 ล้านบาทต่อหลัง และมีจ�านวนผู้อยู่อาศัยในอาคารโดยเฉลี่ย 600
ถึง 1,900 คนต่ออาคาร เป็นที่น่าสังเกตว่า หากผลการศึกษาได้พิจารณารวมไปถึงจ�านวนอาคารที่ได้รับความเสียหายเพียงบางส่วน ตลอดจนถึง
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับโครงสร้างพื้นฐานที่จ�าเป็นต่าง ๆ จ�านวนผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บ อีกทั้งมูลค่าความเสียหายที่จะเกิดขึ้นอันเป็นผล
ี
ิ
ิ
ี
ุ
ึ
ี
ื
ิ
�
ิ
มาจากธรกจและชวตไม่สามารถดาเนนไปได้อย่างปรกตแล้ว เช่อแน่ว่ามูลค่าความเสียหายท่จะเกิดข้นน่าจะอยู่ในระดับท่มากมายมหาศาลเลย
ทีเดียว
บทส่งท้าย
ั
ตองยอมรบว่าประเทศไทยเราไมไดประสบกับปรากฏการณแผนดนไหวทมความรนแรงบอยคร้งเมอเทยบกับหลาย ๆ ประเทศ และการ
ั
้
่
่
์
ิ
่
้
ี
ี
ุ
ี
ื
่
่
ท�าความเข้าใจต่อสาธารณชนเกี่ยวกับความรู้ด้านนี้ยังไม่เพียงพอและจริงจัง ดังนั้น เมื่อความพร้อมมีอย่างไม่เพียงพอที่จะรับมือกับภัยธรรมชาติ
ประเภทนี้แล้ว ความเสียหายที่เกิดขึ้นจึงมีมูลค่าสูงอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ดร. ธีรพันธ์ได้กรุณาอธิบายเพิ่มเติมว่า สิ่งที่เกิดขึ้นทั้งในและต่างประเทศ
ี
ี
ึ
ื
พอจะเป็นบทเรียนได้เป็นอย่างดี ขอหยิบยกเหตุการณ์ท่เกิดข้นกับประเทศเฮติเพ่อเป็นกรณีตัวอย่างท่แสดงถึงความไม่พร้อมในการรับมือกับ
เหตุการณ์แผ่นดินไหว แผ่นดินไหวขนาด 7.0 ที่กรุงปอร์โตแปรงซ์ ประเทศเฮติ เมื่อปี 2553 ได้ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจกับประเทศ
ี
�
้
คิดเป็นมูลค่าระหว่าง US$ 7.5–8.5 พันล้าน ซ่งนอกจากมีผู้เสียชีวิตเป็นจานวนมากแล้ว ผู้รอดชีวิตส่วนใหญ่กลายเป็นผู้ไร้ท่อยู่อาศัย ขาดนา
ึ
�
ขาดอาหาร และไม่มีงานท�า เนื่องมาจากว่าโรงงานและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้รับความเสียหายจนไม่สามารถท�าการผลิตได้ ท�าให้ประชากรของ
ประเทศต้องพึ่งพิงเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ และยังต้องใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าที่เศรษฐกิจของเฮติจะสามารถกลับมาสู่สภาพเดิม
แต่กรณีแผ่นดินไหวขนาด 8.8 ที่เกิดขึ้นกับประเทศชิลี เมื่อปี 2553 ถึงแม้จะท�าให้เกิดความเสียหายต่ออาคารและระบบสาธารณูปโภค
ี
ื
ั
ิ
แต่ทว่าผลของการควบคุมมาตรฐานการออกแบบอาคารและส่งปลูกสร้างท่ดี เน่องมาจากว่าประเทศชิลีน้นเคยประสบเหตุการณ์แผ่นดนไหวใหญ่
ิ
�
มาหลายคร้งทาให้เกิดการเตรียมพร้อมอยู่เป็นทุน จึงทาให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมสามารถฟื้นตัวกลับมาได้เร็วกว่ามาก เน่องมาจากว่าอาคาร
ั
ื
�
ท่เกิดการพังถล่มและไม่สามารถใช้การได้น้นมีจานวนน้อยกว่ากรณีของเฮติ และมูลค่าความสูญเสียท่เกิดข้นเม่อคิดเป็นสัดส่วนต่อ GDP ของ
ึ
ี
ั
ี
�
ื
ประเทศแล้วก็มีขนาดที่น้อยกว่ากรณีของประเทศเฮติอยู่มาก นอกจากนี้แล้ว จ�านวนผู้เสียชีวิตก็มีจ�านวนที่น้อยกว่ามากด้วยเช่นกัน
ตารางที่ 1: การเปรียบเทียบเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศเฮติและชิลี
ส�าหรับกรณีของประเทศไทยเอง เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อปี 2557 นั้นถือว่าเป็นแผ่นดินไหวขนาดกลาง
ค่อนไปทางเล็ก แต่เป็นแผ่นดินไหวที่ใหญ่ที่สุดที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย นับตั้งแต่แผ่นดินไหวขนาด 5.9 เมื่อปี 2527 ที่จังหวัดกาญจนบุรี โดย
ี
มีจุดศูนย์กลางอยู่ท่กลุ่มรอยเล่อนเจดีย์สามองค์ และแผ่นดินไหวขนาด 6.5 เม่อปี 2478 ท่จังหวัดน่าน จากรอยเล่อนปัว โดยผลกระทบจาก
ื
ี
ื
ื
ี
ึ
ิ
เหตุการณ์แผ่นดินไหวเม่อปี 2557 แตกต่างจากส่งท่เคยเกิดข้นในอดีตเน่องจากจานวนประชากรท่เพ่มข้นและการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค
ื
ิ
ึ
ี
ื
�
26 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 128