Page 35 - InsuranceJournal128
P. 35

สรรหามาเล่า

           INFOGRAPHIC                                                                  สื่อสารแบบไหน?



                                                                                        ได้ประสิทธิภาพ




                                                                                                เรียบเรียงโดย กระต่ายน้อย
                 อินโฟกราฟิก (Infographic) เป็นสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจ�าวันของเรา พบเห็นได้ทั้งในสื่อโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรือแม้แต่บิลบอร์ด เป็น
                                  ี
                       ื
                 ื
                                   �
                                                                         ั
                                                                                            ั
                                                        ี
                                                           �
          เสมือนเคร่องมือส่อสารชนิดใหม่ท่ทาให้เหล่าผู้รับสารสามารถท่จะทาความเข้าใจข้อมูลน้นได้ภายในระยะเวลาอันส้น โดยอินโฟกราฟิกมาจาก
          ค�าว่า Information (ข้อมูล) ร่วมกับ Graphic (กราฟิก) ดังนั้น อินโฟกราฟิก (Infographic) จึงเปรียบเสมือนเป็นการย่อยข้อมูลที่ประกอบ
          ด้วยข้อความจ�านวนมาก คัดกรอง วิเคราะห์ เน้นหัวใจหลักเพียงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง น�ามาผสมผสานกับการออกแบบกราฟิก โดยอาจแทนสิ่งที่พูด
          ถึงด้วยสัญลักษณ์หรือไอคอนต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความน่าสนใจและช่วยให้ตีความหมายได้ง่ายยิ่งขึ้น
          กุหลาบของไนติงเกล อินโฟกราฟิกยุคบุกเบิก
                 ผู้บุกเบิกอินโฟกราฟิกในยุคแรก ๆ คือ ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล (Florence Nightingale) พยาบาลในต�านานผู้อุทิศตนดูแลคนไข้อย่างไม่
                                                                  ิ
                                                                                              ั
                     ื
          เห็นแก่เหน็ดเหน่อย เธอยังเป็นผู้ออกแบบอินโฟกราฟิกท่มีประโยชน์เป็นอย่างย่งต่อการสาธารณสุข (ของทหารและชนช้นล่าง) ด้วยการอุทิศเวลา
                                                  ี
          รวบรวมข้อมูลและออกแบบ “กุหลาบไนติงเกล” (Nightingale Rose Diagram) ไดอะแกรมทรงพลังระดับเปลี่ยนสังคมขึ้นมาได้

















                 จากการได้เข้าไปดูแลทหารที่ผ่านสงครามมาในค่าย ไนติงเกลพบว่า สิ่งที่คร่าชีวิตของทหารผ่านศึกได้ในจ�านวนมากเท่า ๆ กับทหารที่
                                                           ี
                                                                                  �
                                                            ั
                                                                                              ื
          ตายในสงคราม ก็คือสภาพความเป็นอยู่ในสถานพยาบาลของทหารท่ท้งสกปรกและแออัดยัดเยียด ทาให้เกิดการติดเช้อรุนแรงและการสูญเสีย
          ชีวิตโดยไม่จ�าเป็น เธอเสนอข้อมูลนี้ต่อรัฐ แต่เสียงเรียกร้องของพยาบาลตัวเล็ก ๆ ไม่ได้มีค่าพอให้รัฐสนใจ เธอจึงคิดค้นหาทางน�าเสนอข้อมูลใหม่
          โดยปรึกษากับนักสถิติศาสตร์ จนในที่สุด เธอก็สามารถออกแบบ Diagram of the Causes of Mortality ที่เปรียบเทียบส่วนต่างของจ�านวนการ
                                                                                   �
                                                                                ี
                                          ี
                                                                       ี
                                                                         ึ
          เสียชีวิตของทหารจากเหตุสุดวิสัย และเหตุท่สามารถป้องกันได้ด้วยการสาธารณสุขท่ดีข้น แทนท่จะนาเสนอเป็นตารางบรรจุข้อมูลยาวเหยียด
                              ี
                                                        ื
                                                           ี
          ไดอะแกรมของไนติงเกลบ่งช้ความต่างของข้อมูลด้วยสีและขยายพ้นท่ออกจากศูนย์กลางจนดูเหมือนกลีบดอกกุหลาบ (ในเวลาต่อมาผู้คนจึงเรียก
          ผลงานชิ้นนี้ว่า Nightingale Rose Diagram)
                 “ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล รู้ว่าเธอมีเวลาดึงความสนใจจากผู้มีอ�านาจได้ไม่มาก ฉะนั้น เธอจึงต้องน�าเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ทั้งดึงดูดที่สุด
          และเข้าใจง่ายที่สุดไปพร้อมกัน”
          อินโฟกราฟิกยุคปัจจุบัน
                 ปัจจุบันมีการใช้งานอินโฟกราฟิกอย่างแพร่หลาย เราจึงเห็นอินโฟกราฟิกในท่ต่าง ๆ เช่น การนาเสนองานหรือสรุปผลต่าง ๆ
                                                                           ี
                                                                                         �
                   ั
                            �
          การอธิบายข้นตอนการทางานต่าง ๆ หรือแนว How to เปรียบเทียบข้อมูลตัวเลข กราฟ หรือสถิติต่าง ๆ เป็นต้น
                 ในยุคสังคมโซเชียลมีเดีย (Social Media) การส่งข้อมูลเป็นเร่องท่ง่าย แต่จะทาให้เป็นเร่องน่าสนใจน้นเป็นเร่องท่ยาก เพราะ
                                                                                    ื
                                                                                             ั
                                                                            �
                                                               ื
                                                                                                       ี
                                                                                                   ื
                                                                   ี
                                                    ิ
                                    ิ
                                 ื
                                        �
                                      ี
           ิ
          ส่งใหม่ ๆ เกิดข้นทุกวัน ย่งกับเร่องส่งท่กาลังเป็นกระแสย่งไม่ต้องพูดถึง อินโฟกราฟิกจึงเป็นเคร่องมือทางการตลาดด้วยต้นทุนการจัดทา �
                                                                                 ื
                            ิ
                     ึ
                                                                                                     ี
                                                                                                              ั
                                    ื
           ี
          ท่ไม่สูงนัก ประกอบกับการเข้าถึงเน้อหาได้ในระยะเวลาอันส้น อย่างท่ทราบกันดีว่าคนส่วนใหญ่มักจะไม่อ่านเน้อหาอะไรท่มาก ๆ ดังน้น
                                                       ั
                                                                                             ื
                                                              ี
                                                                      วารสารประกันภัย  เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2558  35
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40