Page 28 - InsuranceJournal135
P. 28
Risk Intelligence
3. ความเสี่ยงด้านไซเบอร์ (Cyber Risk)
ี
ิ
ึ
�
ปริมาณธุรกรรมประกันภัยผ่านทางช่องทางดิจิทัลท่เพ่มมากข้นและการเก็บข้อมูลรายละเอียดของลูกค้าจานวนมากในฐานข้อมูล ทาให้
�
ั
ั
ี
บริษทประกนภัยเป็นแหล่งเป้าหมายของการถกโจมตทางไซเบอร์อย่างหลีกเล่ยงไม่ได้ และอาจนามาซงความเสียหายอย่างรนแรง ท้งในรปของ
ุ
ี
ึ
ู
่
ู
�
ั
ู
ู
ี
ุ
ู
ู
ู
�
ั
ื
ิ
ุ
�
ู
ั
ี
ุ
่
ู
การหยดชะงกทางธรกจ การถกทาลายฐานข้อมล การถกจารกรรมหรอเรยกค่าไถ่ข้อมลลกค้าโดยเฉพาะข้อมลส่วนบคคลทสาคญ ข้อมลทาง
การเงิน และข้อมูลทางการแพทย์ ค่าใช้จ่ายในการชดเชยค่าเสียหายให้กับลูกค้า การถูกปรับและด�าเนินการตามกฎหมายจากผู้ก�ากับดูแล ซึ่งจะ
ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของบริษัทประกันภัยในที่สุด
ื
ต้นทุนท่เก่ยวข้องในการดาเนินการเพ่อป้องกันความเส่ยงด้านไซเบอร์ ตลอดจนการจัดสรรทรัพยากรท่จาเป็นนับเป็นความท้าทายของ
�
ี
ี
�
ี
ี
บริษัทประกันภัย การประเมินโอกาสในการเกิดและผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นก็เป็นสิ่งที่ยากต่อการคาดการณ์เช่นกัน นอกจากนี้ รูปแบบของ
ุ
ื
ู
ี
ั
ุ
่
ู
ั
ี
ี
่
ี
ั
ื
ี
้
ั
่
ึ
ี
ุ
ั
ี
การโจมตทางไซเบอร์ในปัจจบนทมการพฒนาไปส่การโจมตซงมรฐบาลหรอกล่มองค์กรเป็นผ้หนนหลงหรอทเรยกว่า “สงครามไซเบอร์” นน ก ็
อาจก่อให้เกิดความเสียหายมูลค่ามหาศาลและเป็นภัยคุกคามต่อธุรกิจประกันภัยก็เป็นได้
ถึงแม้การโจมตีทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้นบ่อยในปัจจุบันอาจเป็นการสร้างโอกาสให้กับบริษัทประกันภัยในการพัฒนากรมธรรม์ประกันภัยที่
ี
ื
�
คุ้มครองความเสียหายท่เกิดข้นจากการคุกคามทางไซเบอร์ แต่ด้วยข้อมูลท่มีอย่างจากัดและความยากในการสร้างแบบจาลองเพ่อพยากรณ์
ี
ึ
�
้
ึ
�
ั
ั
ความเส่ยงดานไซเบอร์ จงทาให้การพัฒนากรมธรรม์ประกันภัยไซเบอร์ตลอดจนการพิจารณารบประกนภยและการกาหนดอัตราเบ้ยประกันภัย
ี
�
ี
ั
มีความท้าทายอย่างมาก นอกจากนี้แล้ว กรมธรรม์ประกันภัยไซเบอร์อาจเป็นการสร้างแรงจูงใจและเป็นแรงกระตุ้นให้กับเหล่า Hackers ในการ
โจมตีเพื่อเรียกค่าไถ่ข้อมูลของลูกค้าเพิ่มขึ้นในอนาคต
4. การแข่งขัน (Competition)
การแข่งขันที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นและ Capacity ที่มีเหลืออยู่ส่งผลให้เกิดสงครามการตัดราคาและการหั่นเบี้ยประกันภัยอย่างที่ไม่
ี
เคยปรากฏมาก่อนและอาจส่งผลต่อความอยู่รอดของบริษัทประกันภัยในอนาคต บริษัทประกันภัยท่ไม่สามารถปรับรูปแบบการทาธุรกิจให้
�
ี
ี
ี
�
เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมท่เปล่ยนแปลงไปจะสูญเสียความสามารถในการแข่งขันให้กับคู่แข่งในรูปแบบใหม่ ซ่งอาจเป็นบริษัทท่เป็นผู้นา
ึ
ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี เช่น Google Facebook และ Amazon
ี
�
บริษัทเหล่าน้สามารถจะคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยใหม่หรือช่องทางการจาหน่ายใหม่ท่สามารถเข้าถึงลูกค้าแต่ละกลุ่มได้ด ี
ี
กว่าบริษัทประกันภัยแบบด้งเดิม เน่องจากบริษัทเหล่าน้มีต้นทุนในการดาเนินงานท่ตากว่าบริษัทประกันภัย และมีฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของลูกค้า
ั
ื
�
่
ี
ี
�
ซ่งมีรายละเอียดลงลึก ข้อมูลของลูกค้าท่มีอยู่จะถูกนามาวิเคราะห์เพ่อจาแนกและจัดกลุ่มความเส่ยง เพ่อจะนาเสนอความคุ้มครองและผลิตภัณฑ์
�
�
ี
ื
ี
ื
ึ
�
ประกันภัยที่เหมาะสมกับความเสี่ยงของลูกค้าแต่ละกลุ่มแต่ละรายได้ดีกว่าผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่มีอยู่ในปัจจุบัน
5. ผลตอบแทนจากการลงทุน (Investment Performance)
ี
อัตราดอกเบ้ยท่ตาในช่วงหลายปีท่ผ่านมาและความผันผวนของตลาดทุนส่งผลกระทบต่อธุรกิจประกันภัยซ่งพ่งพาผลตอบแทนจากการ
ึ
่
ี
ึ
ี
�
ลงทุนมาช่วงพยุงรายได้และก�าไรจากการรับประกันภัยที่ลดลง
ี
ี
อตราผลตอบแทนจากการลงทนในระดบตาอาจเป็นแรงผลกดันใหบริษทประกันภยลงทุนทเส่ยงกวาเดมเพอให้ได้ผลตอบแทนท่สงข้น
ิ
ื
่
�
ั
่
่
่
ึ
้
ั
ั
ุ
ี
ั
ู
ั
ตามต้องการ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเงินกองทุนที่ต้องด�ารงไว้ตามกฎหมายเพื่อรองรับความเสี่ยงที่ต้องเพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน
6. กฎหมาย (Regulation)
ผู้บริหารบริษัทประกันภัยทั่วโลกเห็นพ้องต้องกันว่ากฎหมายที่ออกมาเพิ่มมากขึ้นท�าให้ธุรกิจประกันภัยต้องเผชิญกับความเสี่ยงในการ
�
�
ี
ึ
�
ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างหลีกเล่ยงไม่ได้ ความไม่แน่นอนของกฎหมายซ่งกาลังอยู่ในระหว่างการดาเนินการของผู้กากับดูแล ทาให้การประเมิน
�
ึ
�
�
ี
ผลกระทบท่คาดว่าจะเกิดข้นทาได้ยาก และกฎหมายท่จะออกมาใหม่น้นอาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อรูปแบบการทาธุรกิจของบริษัทประกันภัย
ี
ั
ในอนาคต
ิ
ื
การออกกฎหมายเพ่มเติมอย่างต่อเน่องส่งผลให้ต้นทุนของบริษัทเพ่มมากข้น เน่องมาจากค่าใช้จ่ายท่เก่ยวข้องกับการดาเนินการ ความ
ื
�
ี
ิ
ี
ึ
ิ
ั
ิ
ั
ี
่
ิ
ุ
ซบซ้อนของกฎหมาย ความยากในการปฏบตตามกฎหมาย และเงนกองทนทเกยวข้อง ต้นทนทเพมสงขนนอาจกดขวางการสร้างนวตกรรมใน
ั
ุ
่
ี
ี
ี
ึ
ี
้
้
่
ิ
ู
่
28 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 135