Page 26 - InsuranceJournal140
P. 26
วิชาการ IPRB
ประเด็นท่ 1 ในประเทศไทยภาครัฐสามารถถ่ายโอนความเส่ยงภัยธรรมชาติของเกษตรกรมายัง
ี
ี
ผู้รับประกันภัยเอกชนได้ขณะนี้เลยหรือไม่
ตามสถิติภาครัฐได้ให้การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกพืชตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบ
ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในช่วง 14 ปีที่ผ่านมา (ตั้งแต่ปี 2547-2560) เฉลี่ยปีละ 7,010 ล้านบาท โดยในปี 2552 รัฐ
ใช้งบประมาณต�่าที่สุดอยู่ที่ 1,354 ล้านบาท และสูงที่สุดในปี 2554 ใช้งบประมาณช่วยเหลือเกษตรกรสูงที่สุดที่ 31,220 ล้านบาท (รูปที่ 1)
รูปที่ 1 สถิติงบประมาณการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยธรรมชาติของภาครัฐ ปี 2547 - 2560
ที่มา: กรมส่งเสริมการเกษตร รวบรวมโดยส�านักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัย
ื
ื
จากสถิติดังกล่าว จึงเป็นท่มาของโจทย์ท่สาคัญว่า การถ่ายโอนภาระงบประมาณภาครัฐเพ่อใช้เคร่องมือประกันภัยในการดูแลความเส่ยง
�
ี
ี
ี
ื
ี
�
�
ของเกษตรกรสามารถทาได้ทันทีขณะน้หรือไม่ เพ่อรัฐจะได้บริหารงบประมาณได้อย่างมีเสถียรภาพ ไม่ต้องจัดสรรช่วยเหลือเกษตรกรโดยมีจานวน
เม็ดเงินที่แปรปรวนไปตามสภาพอากาศ ซึ่งนับวันภัยพิบัติจะก่อให้เกิดผลกระทบที่รุนแรงต่อภาคการเกษตร
ในประเด็นนี้ผู้เขียนได้เคยให้ข้อคิดเห็นในที่ประชุมต่อโจทย์นี้ โดยใช้ตัวอย่างของโครงการประกันภัยข้าวนาปี ที่ได้ด�าเนินการอย่างเป็น
ิ
รูปธรรมต้งแต่ปี 2554 ว่า เน่องจากหลักการประกันภัยต้งแต่เร่มโครงการฯ จนถึงปัจจุบันเป็นการประกนภยตนทนการผลต โดยภาคธุรกิจเอกชน
ั
ุ
ื
ั
ั
ิ
้
ั
ี
ให้ความคุ้มครองเพ่มเติมจากท่รัฐประเมินความเสียหาย และจ่ายเงินช่วยเหลือเกษตรกรอยู่แล้ว จึงหมายความว่า (1) กลไกประเมินความเสียหาย
ิ
ึ
ี
�
ท่ใช้อยู่ก็ใช้ระบบของภาครัฐท่เป็นการสารวจโดยคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระดับอาเภอ (ก.ช.ภ.อ.) ซ่งเกษตรกรม ี
ี
�
ความเข้าใจและยอมรับอยู่แล้ว และ (2) ใช้ระบบเอกสารที่แสดงจ�านวนพื้นที่เสียหายที่ออกและรับรองโดยรัฐ และ (3) รัฐจ่ายให้ความช่วยเหลือ
�
ั
�
เกษตรกรตามอัตราท่กระทรวงการคลังกาหนด (ประมาณไม่เกินร้อยละ 30 ของต้นทุนการผลิตท้งหมด) ซ่งทาให้ผู้รับประกันภัยเอกชนม ี
ี
ึ
ความเชื่อมั่นกับระบบที่รัฐด�าเนินการอยู่ และสามารถที่จะให้การประกันภัยคุ้มครองต้นทุนการผลิตแก่เกษตรกรเพิ่มเติม (รูปที่ 2)
26 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 140