Page 27 - InsuranceJournal140
P. 27
วิชาการ IPRB
รูปที่ 2 รูปแบบการประกันภัยต้นทุนการผลิตของโครงการประกันภัยข้าว
ที่มา: ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร รวบรวมโดยส�านักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัย
ดังนั้น การที่รัฐจะถ่ายโอนภาระงบประมาณทั้งหมดนั้น จึงจ�าเป็นต้องมีโครงสร้างพื้นฐาน คือ วิธีประเมินความเสียหาย ซึ่งอาจจะเป็น
์
ิ
่
้
์
็
ู
้
ั
์
ุ
่
ี
ุ
เกณฑทางวทยาศาสตร โดยพฒนารปแบบเปน parametric products ทเปนการตกลงลวงหนาระบไวในกรมธรรมวา เหตการณจดใดทใชใน
ี
้
่
ุ
็
์
่
การจ่ายค่าสินไหมทดแทน หรืออาจจะยังเป็นการประเมินรายแปลงโดยใช้เจ้าหน้าที่เอกชนผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้ รูปแบบการประกันภัยไม่ว่าจะเป็น
การประกันต้นทุนการผลิต ผลผลิต หรือรายได้ และวิธีการประเมินความเสียหาย ก็จ�าเป็นต้องได้รับความยอมรับจากเกษตรกรก่อนด้วย
�
ี
ั
ิ
การพัฒนาโครงสร้างพ้นฐานท่จาเป็นต่อการประกันภัยภาคการเกษตรน้น ภาครัฐก็ได้ให้ความสาคัญมาต้งแต่ริเร่มโครงการ โดยในปี
ั
ื
�
ื
�
ั
่
่
ั
ั
ั
�
ั
ุ
2552 สานกงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลง ได้จดประชมร่วมกบธนาคารโลก หนวยงานภาครัฐ และเอกชน หลายคร้งเพอจัดทายุทธศาสตร ์
ชาติในการพัฒนาการประกันภัยพืชผล โดยให้ความส�าคัญต่อการพัฒนารูปแบบประกันภัยและการประเมินความเสียหายที่เหมาะสม และล่าสุด
ภาคเอกชนก็ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนารากฐานดังกล่าวด้วย โดยเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2561 ได้มีการจัดท�าบันทึกความเข้าใจการพัฒนาระบบ
การประกันภัยพืชผลการเกษตรของประเทศไทยระหว่าง 6 หน่วยงาน ได้แก่ (1) สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย
�
�
(2) กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (3) สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (4) สานักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (5) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) และ (6) สมาคมประกันวินาศภัยไทย ซึ่งการจัดท�าบันทึก
ความเข้าใจครั้งนี้ ถือเป็นการน�าผู้เชี่ยวชาญและบูรณาการฐานข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อผลักดันผลลัพธ์ที่ส�าคัญประการหนึ่งให้เกิดขึ้น
ภายในระยะเวลา 3 ปีข้างหน้า คือ การเชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ เข้าด้วยกันในระดับแปลงเกษตรกร และน�าข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
เช่น ข้อมูลภาพถายดาวเทยม ข้อมลอตนิยมวทยา ตลอดถงการเกบขอมลการเพาะปลูกและความเสียหายรายแปลงด้วยวิธ crowd sourcing
ี
ึ
ิ
ุ
้
ู
็
ี
่
ุ
ู
โดยใช้ mobile application เพื่อประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบและประเมินความเสียหายของพื้นที่เพาะปลูกจากภัยธรรมชาติ
(โปรดติดตามหนทางอนาคตของการพัฒนาประกันภัยข้าวในประเทศไทยในประเด็นอื่น ๆ ที่เหลือได้ในวารสารประกันภัยฉบับหน้า)
วารสารประกันภัย กรกฎาคม - กันยายน 2561 27