Page 13 - InsuranceJournal145
P. 13
รอบรู้ประกันภัย
พลิกโฉมธุรกิจประกันกับ IFRS17
พลิกโฉมธุรกิจประกันกับ IFRS17
(ตอนที่ 2)
(ตอนที่ 2)
โดย ทอมมี่ (พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน)
นายกสมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย
และ กรรมการผู้จัดการบริษัท แอคชัวเรียล บิสซิเนส โซลูชั่น จ�ากัด (ABS)
สวัสดีครับ พบกันอีกครั้งในพลิกโฉมธุรกิจประกันกับ IFRS17 ซึ่งฉบับนี้เป็นตอนที่ 2 โดยในตอนนี้ผมจะพาไปทุกท่านไปท�าความเข้าใจ
สัญญาประกันภัย 2 ตัว ที่เป็นหัวใจส�าคัญที่สุดของมาตรฐาน IFRS17 และประเด็นอื่น ๆ เพิ่มเติมกันครับ...
สัญญาท่มีภาระผูกพันเกินควร (Onerous Contract) กับ สัญญาท่มีกาไร Contractual Service Margin (CSM)
�
ี
ี
ในมาตรฐานใหม่นี้ มีนิยามของสัญญาประกันภัยอยู่ 2 ตัว ที่เป็นหัวใจส�าคัญที่สุดของมาตรฐานฉบับนี้ โดยเราจะเรียกมันว่า เป็นความ
ไม่สมมาตร หรือ อสมมาตร (asymmetric) ของการรับรู้ก�าไรในสัญญาประกันภัย
1. Onerous Contract คืออะไร
Onerous แปลว่า เป็นภาระ หรือมีภาระผูกพันเกินควร ดังนั้น Onerous Contract จึงแปลว่า สัญญาที่มีภาระผูกพันเกินควร หรือ
แปลเป็นไทยได้อีกอย่างหนึ่งว่า เป็นแบบประกันภัยที่ขาดทุน
ื
เน่องจากสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัยในมาตรฐานฉบับน้จะถูกสะท้อนภาวะตลาดอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าแบบประกันภัย
ี
จะถูกออกแบบมาให้มีกาไร แต่เม่อนามาขายแล้ว ในอนาคตก็อาจจะขาดทุนเน่องจากสภาพตลาดในขณะน้นก็เป็นได้ (เช่น ผลตอบแทนจาก
ื
ั
�
ื
�
การลงทุนที่ต�่ากว่าตอนออกแบบไว้แต่แรก เป็นต้น)
ี
ี
สัญญาประกันภัยท่ประเมินแล้วขาดทุนในตอนท่นาออกมาขาย จะถูกตีตราว่า เป็น Onerous Contract (สัญญาท่มีภาระผูกพันเกิน
ี
�
ควร) และจะต้องรับรู้การขาดทุนทั้งก้อนทันที ยกตัวอย่างเช่น เราเห็นว่าสัญญาประกันภัยตัวนี้มีระยะเวลา 10 ปี และจะขาดทุนต่อเนื่องปีละ
10 ล้านบาท เวลารับรู้การขาดทุนในงบก�าไรขาดทุนนั้น จะต้องรับรู้สะท้อนว่าขาดทุนเป็นจ�านวนเงิน 100 ล้านบาทในทันที (ปีละ 10 ล้านบาท
10 ปี สมมติไม่มีอัตราคิดลดมาเกี่ยวข้อง)
2. Contractual Service Margin (CSM) คืออะไร
Margin ในที่นี้ จะหมายถึงก�าไร แบบที่เราชอบเรียกว่า Profit Margin แต่ในมาตรฐานใหม่ตัวนี้ ใช้ค�าว่า Service Margin เพราะ
มองว่าเป็นก�าไรจาก Service fee (ค่าธรรมเนียม) นั่นเอง เนื่องจากมาตรฐานนี้จะไม่รับรู้เบี้ยประกันภัยว่าเป็นรายรับ/รายได้อีกต่อไป (ทุกอย่าง
จะเปลี่ยนเป็น service fee หมด) และเนื่องจากมาตรฐานใหม่นี้จะอยู่บนโลกของ service fee เวลาเรียกก�าไรของสัญญาประกันภัย จึงเรียกว่า
Contractual Service Margin (CSM)
สัญญาประกันภัยที่ประเมินแล้วก�าไรในตอนที่น�าออกมาขาย จะมี Contractual Service Margin (CSM) ซึ่งจะไม่สามารถรับรู้ว่า
ี
ี
�
ั
เป็นกาไรท้งก้อนได้ในทันที แต่จะต้องนามาเกล่ยเฉล่ยออกไปตามอายุของสัญญาน้น ยกตัวอย่างเช่น เราเห็นว่าสัญญาประกันภัยตัวนี้มีระยะเวลา
ั
�
10 ปี และจะมีก�าไรเป็นมูลค่าปัจจุบันทั้งหมด 100 ล้านบาท เวลารับรู้ก�าไรในงบก�าไรขาดทุนนั้น จะไม่สามารถรับรู้ 100 ล้านบาท ทั้งก้อนได้
แต่จะต้องเอา 100 ล้านบาทนั้น มาทยอยรับรู้ตลอดระยะเวลา 10 ปีของสัญญาประกันภัยนั้น เสมือนหนึ่งเราเอา 100 ล้านบาทที่คิดว่าจะได้ก�าไร
ทั้งหมดในวันที่ออกกรมธรรม์ให้นั้น เทใส่ลงไปในเขื่อนกันส�ารองเอาไว้ และเมื่อเวลาผ่านไปก็ค่อย ๆ ผันน�้าออกจากเขื่อน ทยอยรับรู้ก�าไรออกมา
(บางครั้งอาจเรียก Contractual Service Margin (CSM) ว่า Profit Reserve ก็ไม่ผิดนัก)
ั
ื
ั
เม่อเปรียบเทียบ Onerous Contract กับ Contractual Service Margin (CSM) แล้วจะเห็นว่า เวลาขาดทุนน้นจะต้องรบรู้
ี
�
�
ั
การขาดทุนท้งก้อนทันที แต่เวลากาไรน้นจะต้องทยอยผ่อนรับรู้ไปทีละนิดตลอดอายุสัญญา จึงทาให้มาตรฐานใหม่น้รับรู้กาไรขาดทุนแบบไม่สมมาตร
�
ั
เรียกว่า “มีสุขต้องทยอยเสพ มีทุกข์ต้องรับรู้ให้หมดจดในทีเดียว”
วารสารประกันภัย ฉบับที่ 145 13