Page 15 - InsuranceJournal145
P. 15
รอบรู้ประกันภัย
ประเด็นมันอยู่ที่ว่า เวลาจะกวนส่วนผสมนั้น จะจัดกลุ่มอย่างไร ถ้าบริษัทมีความเสี่ยง 5 ชนิด เราก็คงจะกวนส่วนผสมไว้ 5 หม้อ (จะ
เป็นรสอะไร หรือชนิดอะไร ก็ว่าไปตามนั้น) เราคงไม่ได้กวนทุกสิ่งอย่างไว้ในหม้อเดียวกันใช่ไหมครับ
ดังนั้น เรื่อง level of aggregation จึงเป็นสิ่งส�าคัญที่ถูกน�ามาเป็นประเด็นก่อน โดยในตอนแรกที่เป็นมาตรฐานใหม่ (ฉบับร่าง) นั้น
ได้ระบุว่าจะต้องท�าทีละกรมธรรม์เลย ไม่สามารถน�ามาจัดกลุ่มได้ แต่มีบางฝ่ายได้ค้านเอาไว้ว่า ท�าแบบนั้นมันแทบจะขี่ช้างจับตั๊กแตนเลยทีเดียว
ในมาตรฐานใหม่ (ตัวล่าสุด) นี้ จึงยอมให้ค�านวณเป็นกลุ่มได้
การจัดกลุ่มตาม Level of Aggregation
การจัดกลุ่มประเภทของแบบประกันภัยนั้น จะท�ากันตอนเริ่มขายกรมธรรม์นั้น ๆ (policy inception) ซึ่งเมื่อจัดกลุ่มเข้าประเภทไหน
แล้ว จะไม่มีการเปลี่ยนจนกระทั่งหมดอายุสัญญา โดยประเภทของสัญญาประกันภัยนั้นสามารถจัดกลุ่มตามขั้นตอนได้ดังนี้
1. ตามพอร์ต (Portfolio) โดยให้จัดเป็นพอร์ตก่อน ซึ่งก็คือ เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงคล้ายกันและบริหารทั้งกลุ่มไปด้วยกัน (ในมาตรฐาน
�
ี
ั
�
ใหม่ ใช้คาว่า “similar risk and managed together”) ยกตัวอย่างเช่น แบบประกันภัยท่ชาระเบ้ยคร้งเดียว (Single Premium) กับแบบประกัน
ี
บ�านาญที่จ่ายเบี้ยรายงวด (Regular premium annuity) ควรจะอยู่คนละพอร์ตกัน หรืออีกตัวอย่างหนึ่งเช่น แบบประกันภัยรถยนต์ (Motor)
ควรจะอยู่คนละพอร์ตกับแบบประกันภัยที่ไม่ใช่รถยนต์ (Non-Motor) เป็นต้น ซึ่งตัวอย่างเหล่านี้เห็นได้ชัดกันอยู่แล้ว แต่ถ้าจะให้เห็นภาพชัดขึ้น
ในทางปฏิบัติ การแบ่งพอร์ตของแบบประกันภัยเหล่าน้อย่างน้อยก็อาจจะพิจารณาให้สอดคล้องไปพร้อมกับการจัดประเภทแบบประกันภัย
ี
(Product categories) ของการท�ารายงาน Risk Based Capital (RBC) ส่ง คปภ. ไปด้วยก็ได้
2. ตามกลุ่ม (Cohort) โดยให้จัดกลุ่มเฉพาะสัญญาที่ออกห่างกันไม่เกิน 1 ปี ซึ่งมองให้ง่ายก็คือ เวลาจัดกลุ่มนั้นเราควรจัดกลุ่มตามปีที่
ขายกรมธรรม์นั้น ๆ เช่น กรมธรรม์ที่ขายในปี 2017 จะต้องถูกจัดเป็นอีกกลุ่มกับกรมธรรม์ที่ขายในปี 2018 ถึงแม้ว่า แบบประกันภัยนั้นจะเป็น
ี
แบบเดียวกัน และขายให้กับคน ๆ เดียวกัน เน่องจากมาตรฐานใหม่ตัวน้จะมองว่า การออกกรมธรรม์ในต่างกาลเวลากันจะมีสมมติฐานทาง
ื
คณิตศาสตร์ประกันภัยที่แตกต่างกันได้ตามภาวะตลาดในตอนนั้น ถ้าใครเคยได้ประเมินเงินส�ารองหรือได้สอบระดับเฟลโล่แบบ US GAAP แล้ว
ก็จะเห็นภาพได้ชัดเจนว่า การแบ่งตามกลุ่ม Cohort นั้น เป็นหลักการที่หยิบยืมจาก US GAAP มาใช้
3. ตามความสามารถของการทาก�าไร (Profitability) โดยต้องขอเท้าความกันก่อนว่า ตอนท่นักคณิตศาสตร์ประกันภัยคานวณเบ้ยประกันภัย
�
ี
ี
�
�
�
�
ก็จะคานวณกาไรเอาไว้แล้วว่าถ้าขายไปแล้วจะได้กาไรเท่าไรบ้างในแต่ละปี ดังน้น บริษทประกันภัยจึงสามารถจะบอกได้ว่าแบบประกันภัยท่กาลังจะ
�
ี
ั
ั
ี
�
�
ั
ี
ี
ั
�
ขายอยู่น้นมีกาไรหรือขาดทุนเท่าไร (ในภาวะตลาดท่กาลังจะขายอยู่ในขณะน้น) ด้วยเหตุน้ การจัดกลุ่มตามประเภทของกาไรน้ จึงจะจัดว่าสัญญา
ประกันภัยนี้อยู่ในรูปแบบที่เป็น Onerous contract หรือไม่
a. Onerous contract ถือเป็นกลุ่มแรกเลย แปลว่า ขาดทุนชัวร์ตั้งแต่ตอนขาย จึงควรจะแยกกลุ่มออกมา ประมาณว่าเป็นไวรัส
ั
ท่ต้องถูก quarantine กักบริเวณไว้ ไม่ควรถูกรวมกลุ่มกับตัวท่มีกาไร ไม่อย่างน้นแล้วคนท่อ่านงบการเงินจะไม่รู้ว่าตัวไหนก�าไรหรือขาดทุน กลาย
ี
�
ี
ี
เป็นการมี subsidize (ก�าไรกับขาดทุน ซุกซ่อนเอาไว้ด้วยกัน เพื่อให้ภาพรวมดูมีก�าไร) และท�าให้ดูไม่โปร่งใส ดังนั้น แบบประกันที่เข้าข่าย Onerous
contract จะถูกบังคับให้สะท้อน (timely reflection) การขาดทุนทั้งหมดในทันที
b. Profitable contract เป็นกลุ่มที่เรียกว่า ก�าไรชัวร์ตั้งแต่ตอนขาย ซึ่งจะไม่ยอมให้สะท้อนผลก�าไรทั้งหมดในทันที จะต้องทยอย
รับรู้เอาไว้จาก Contractual Service Margin (CSM) ไปตลอดอายุสัญญาแทน จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า asymmetric treatment (อสมมาตร) ที่
ปฏิบัติไม่เหมือนกันระหว่าง Profitable contract (ทยอยรับรู้ก�าไร) กับ Onerous contract (รับรู้ขาดทุนในทันที)
c. No significant possibility of becoming onerous เป็นกลุ่มสุดท้าย ซึ่งแปลว่าตอนนี้ก�าไรอยู่ ยังมองไม่เห็นว่าถ้าขายออก
ไปตอนนี้แล้วมันจะขาดทุน (แต่อนาคตอาจจะไม่แน่ ถ้าเกิดเหตุการณ์บางอย่างขึ้น โดยอาจทดสอบได้จากการทดสอบความไว (sensitivity test)
ี
ี
�
ี
ั
หรือ ใช้ข้อมูลภายใน (Internal information) เก่ยวกับการเปล่ยนแปลงการประมาณการในอนาคต เป็นต้น) ซ่งขอแปลอีกคร้งว่า กลุ่มน้คือ กาไร
ึ
แต่ไม่ชัวร์ มีโอกาสกลายเป็น Onerous contract ในอนาคตได้
เวลาจัดกลุ่มจึงต้องดูจากกลุ่มกว้าง ๆ เช่น ระดับพอร์ต (Portfolio) เสียก่อน เมื่อจัดพอร์ตแล้วจึงค่อยมาดูเรื่องกลุ่ม (Cohort) แล้วค่อย
ลงมาในระดับลึกสุดคือ ประเภทของก�าไร ว่าเป็น Onerous หรือไม่
วารสารประกันภัย ฉบับที่ 145 15