Page 14 - InsuranceJournal145
P. 14
รอบรู้ประกันภัย
จะท�าอย่างไร ถ้าในวันแรกเป็น Onerous contract แล้วค่อยกลับมามีก�าไร
ู
ี
่
้
็
ู
่
ุ
ื
ั
็
ิ
ั
ู
่
้
่
ี
่
ื
ั
่
ี
ั
้
ั
ในเมอวนแรกถกตตราวาเปน Onerous contract หรอ สญญาทมภาระผกพนเกนควรไปแลว ไมใชวาเรารบรเปนขาดทนไปทงหมดแลว
้
ั
�
ก็ทาเป็นลืมตัวเลขขาดทุนน้นไปจากสัญญาประกันภัยได้ ถึงจะรับรู้ไปหมดแล้วเราก็ต้องเก็บตัวเลขท่เคยลงบัญชีว่ารับรู้ขาดทุนไปแล้วเท่าไรของ
ี
แต่ละกรมธรรม์ (Loss Component) ไว้เสมอ เพราะถ้าเกิดบริหารแล้วมีก�าไรขึ้นมาทีหลัง เราจะต้องน�าตัวเลขของก�าไรที่ว่านี้มาหักกลบลบหนี้
ั
ี
ั
ื
จากตัวเลขขาดทุนท่เคยลงบัญชีก่อนหน้าน้นไปเร่อย ๆ จนกว่าจะหักจนหมด และส่วนเกินไปกว่าน้น ค่อยรับรู้ว่าเป็น Contractual Service
Margin (CSM) ซึ่งเมื่อถึงเวลานั้นก็ค่อยเอามูลค่าส่วนเกินที่เป็น CSM มาทยอยรับรู้เป็นก�าไรในอนาคตอีกที
ทั้งนี้ ขอย�้าว่าการรับรู้ขาดทุน (Loss Component) ที่เคยรับรู้จากการเป็น Onerous contract มานั้น มาตรฐาน IFRS 17 สามารถ
ให้เอาการเปลี่ยนแปลงของก�าไรที่มากขึ้นกว่าที่คาดหวังมาชดเชยได้เท่านั้น แต่จะไม่สามารถเอาก�าไรในอดีตมาหักกลบลบหนี้ได้
ยกตัวอย่างเช่น สัญญาประกันภัยระยะเวลา 10 ปี และในวันที่ขายกรมธรรม์ไปนั้นบริษัทได้รับรู้ขาดทุนเป็นจ�านวน 100 ล้านบาท (เป็น
Loss Component) และสมมติว่าเวลาผ่านไป 3 ปี บริษัทเห็นว่าจะมีก�าไรจากอนาคตข้างหน้าเพิ่มขึ้น 70 ล้านบาทซึ่งมากกว่าตอนที่เคยค�านวณ
ไว้ในตอนแรกแล้ว ตามมาตรฐานใหม่นี้ จะให้น�า 70 ล้านไปเติมเป็นก�าไรได้ในปีบัญชีนั้นทันที (ไม่ต้องน�ามาทยอยรับรู้ก�าไร แบบ Contractual
ี
ึ
�
ื
Service Margin (CSM)) เน่องจากบริษัทเคยลงบัญชีว่าขาดทุนมาก่อนแล้ว 100 ล้าน โดยกาไรจากอนาคตท่เกิดการเปล่ยนแปลงข้นน้จะเกิดจาก
ี
ี
การเปลี่ยนแปลงสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ท�าให้ค�านวณได้ก�าไรมากกว่าที่เคยคาดหวังตั้งเอาไว้ หรือการคาดการณ์ผลประกอบการ
ึ
ี
ั
ี
ื
จากการดาเนินงานในอนาคตข้างหน้าท่จะดีกว่าสมมติฐานท่เคยต้งไว้ ซ่งมีผลทาให้กระแสเงินสดเพ่อภาระผูกพันกรมธรรม์ (fulfilment
�
�
cash flows) ลดลง
และเมื่อบริษัทด�าเนินงานผ่านไปอีก จนกระทั่งครบ 5 ปี มีก�าไรอีก 80 ล้านบาท บริษัทก็จะต้องน�า 80 ล้านบาทนี้หั่นออกมาเป็น 2 ส่วน
โดยส่วนแรกคือ 30 ล้าน ที่น�ามารับรู้เป็นก�าไรได้ทันที เพราะเอามาหักกลบกับสิ่งที่เคยลงขาดทุนสะสมเหลือไว้ 30 ล้าน (เคยรับรู้ขาดทุน 100
ล้านในวันที่ออกกรมธรรม์ และรับรู้ก�าไรมา 70 ล้านในสิ้นปีที่ 3) และส่วนหลังคือ 50 ล้านนี้ จะต้องน�ามารับรู้ก�าไรในระยะเวลาที่เหลืออีก 5 ปี
(สัญญามีระยะเวลา 10 ปี และตอนที่จะลงบัญชีนี้ครบ 5 ปีพอดี) ซึ่งก็คือ ทยอยรับรู้เป็นก�าไร ปีละ 10 ล้านบาท ไปอีก 5 ปี เป็นต้น
จะท�าอย่างไร ถ้าในวันแรกมี Contractual Service Margin แล้วขาดทุนทีหลัง
เมื่อทยอยรับรู้ก�าไรจากการมี Contractual Service Margin (CSM) อยู่ดี ๆ แล้วมีงานเข้า เกิดการประมาณการว่าอนาคตข้างหน้าจะ
มีการขาดทุนเข้ามาท�าให้ต้องน�าตัวเลขขาดทุนนั้นมาหักลบกลบกับ Contractual Service Margin (CSM) ที่เหลืออยู่ จากนั้นก็น�ามาค�านวณ
เกลี่ยก�าไรส�ารองที่เหลือนั้นในระยะเวลาที่เหลือไว้อีกที แปลว่า เวลามี Contractual Service Margin (CSM) อยู่แล้ว และเกิดขาดทุนขึ้นมาใน
ปีบัญชีปีน้น บริษัทจะยังไม่ได้รับผลกระทบต้องรับรู้การขาดทุนในทันที เพียงแค่เอาไปหักออกจาก Contractual Service Margin (CSM) ท่เหลือ
ี
ั
สะสมไว้อยู่ ซึ่งอาจจะท�าให้ก�าไรที่ทยอยรับรู้ในอนาคตนั้นหดตัวลง เท่านั้นเอง
ี
โดยการขาดทุนท่เกิดจากการประมาณการในอนาคตข้างหน้าน้จะเกิดข้นจากการเปล่ยนแปลงสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัยท ่ ี
ี
ึ
ี
่
ี
่
่
้
่
้
ิ
ี
้
�
่
�
ทาใหคานวณไดกาไรลดลงกวาทีเคยคาดหวงไว หรอการคาดการณผลประกอบการจากการดาเนนงานในอนาคตขางหนาทแยกวาสมมตฐานทเคย
�
้
์
ื
ิ
�
ั
่
้
ตั้งไว้ ซึ่งมีผลท�าให้กระแสเงินสดเพื่อภาระผูกพันกรมธรรม์ (fulfilment cash flows) เพิ่มขึ้น
ทั้งนี้ ขอย�้าว่าการรับรู้ก�าไรจาก Contractual Service Margin (CSM) ในมาตรฐาน IFRS 17 นั้น สามารถให้เอาการเปลี่ยนแปลงของ
ก�าไรที่ลดลงกว่าที่คาดหวังมาหักกลบชดเชยได้เท่านั้น แต่จะไม่สามารถเอาการขาดทุนในอดีตมาหักกลบลบหนี้ได้
ค�านวณเดี่ยวหรือประเมินกลุ่มดี?
ใครที่เป็นนักคณิตศาสตร์ประกันภัยจะรู้ดีว่า เรามีปัญหาที่ต้องอธิบายเกี่ยวกับเรื่องการค�านวณเดี่ยว ประเมินกลุ่ม มาตลอด เพราะการ
ค�านวณทางคณิตศาสตร์ประกันภัยนั้นเป็นการประเมินกลุ่ม และตั้งสมมติฐานโดยแบ่งตามกลุ่มความเสี่ยง แต่เวลาค�านวณค่อยเอาสมมติฐานที่
กลั่นกรองจากความคิดของเรานั้น ไปค�านวณหยอดใส่ทีละคน
เปรียบเหมือนตอนที่เราก�าลังตีส่วนผสมของการท�าขนมครก ที่ต้องเอาหลาย ๆ ส่วนผสมมาคลุกเคล้าเป็นเนื้อเดียวกันทั้งหม้อ แล้วหลัง
จากเคี่ยวเสร็จ ค่อยเอาส่วนผสมของเรานั้นหยอดเข้าแม่พิมพ์ทีละฝา
14 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 145