Page 16 - InsuranceJournal145
P. 16

รอบรู้ประกันภัย



                ยกตัวอย่างเช่น บริษัทนี้มีอยู่ 3 พอร์ต (Portfolio) แต่ละพอร์ตมี 4 กลุ่ม (Cohort) และแต่ละกลุ่มจะมีชนิดของก�าไรอยู่ 2 ประเภท คือ
          แบบ Onerous และ แบบ Profitable ดังนั้น เวลาเราจัด Level of aggregation จึงมี 3 x 4 x 2 = 24 กลุ่มย่อย นั่นเอง ซึ่งถึงแม้ว่ากรมธรรม์
          จะมี 1 ล้านกรมธรรม์ เราก็จะค�านวณทั้งหมด 24 ครั้ง (เหมือนมีหม้อขนมครก 24 หม้อ แต่หยอดการค�านวณลงไป ได้ขนมครกออกมา 1 ล้าน
          ฝา)

               การประกันภัยต่อ (Reinsurance)

                                                       �
                                                                 �
                                        ี
                หลายคนสนใจกับมาตรฐานใหม่น้ โดยมุ่งเน้นแต่การคานวณว่าจะคานวณอย่างไร ลงบัญชีอย่างไรในตัวสัญญากรมธรรม์ และแล้วก็ม  ี
          คนถามถึง “แล้วการประกันภัยต่อจะมีผลกระทบอย่างไรในมาตรฐานนี้” ซึ่งพอมาวิเคราะห์ดูแล้วไม่ได้มีผลกระทบทางการเงินอย่างมีนัยส�าคัญ
          แต่ก็มีความซับซ้อนอยู่ไม่น้อยกับการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้
                ยกตัวอย่างเช่น ถ้าบริษัทประกันภัยมีการท�าประกันภัยต่อ แล้วเป็น reinsurance cost ซึ่งเปรียบเหมือนเป็น Onerous ขึ้นมาส�าหรับ
          สัญญาประกันภัยต่อ ท�าให้ทางฝั่งของบริษัทประกันภัยต่อเกิด Contractual Service Margin (CSM) ขึ้นนั้น ซึ่งในแนวปฏิบัติของมาตรฐานใหม่
           ี
                          �
          น้ยังไม่ต้องทยอยรับรู้กาไร แต่ไปหักกลบกับ Onerous ของบริษัทประกันได้เลย วิธีปฏิบัติน้เรียกว่ามาตรฐานใหม่น้ยอมให้มี symmetric
                                                                              ี
                                                                                               ี
                                                              ั
                                                        ั
                                                          �
                                                    ั
                                                                                                      ี
          treatment (สมมาตร) สาหรับสัญญาประกันภัยต่อเท่าน้น (ท้งกาไรท้งขาดทุนให้รับรู้ทันทีลงไปได้เลย) ซ่งต่างกับหลักการท่กล่าวมาของ
                             �
                                                                                        ึ
          asymmetric treatment (อสมมาตร) ของสัญญาประกันภัยทั่วไป ดังนั้น การท�าสัญญาประกันภัยต่อจึงต้องมีการเชื่อมโยง (linkage) กับสัญญา
          ประกันภัยส�าหรับมาตรฐานใหม่นี้
                ในตอนหน้า ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของบทความนี้ ผมจะน�าทุกท่านไปดูวิธีการค�านวณมูลค่าประเมินหนี้สินของสัญญาประกันภัย IFRS 17
          และประเด็นความเกี่ยวข้องของ IFRS 17 กับ RBC และข้อแตกต่างระหว่าง IFRS 17 กับ VoNB/VIF กันครับ...














































         16          วารสารประกันภัย ฉบับที่ 145
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21