Page 12 - InsuranceJournal146
P. 12
รอบรู้ประกันภัย
ควำมแตกต่ำงระหว่ำง Telemedicine กับ Telehealth
เมื่อพูดถึงค�าว่า Telemedicine นั้น ก็จะมีอีกค�าที่คู่กัน ก็คือค�าว่า Telehealth
ั
ั
ี
Telemedicine ท่เราได้พูดถึงไปแล้วน้นจะครอบคลุมการให้บริการด้านการแพทย์เป็นหลัก แต่ Telehealth น้นจะมีขอบเขตท่กว้างกว่า
ี
ื
กล่าวคือ จะครอบคลุมท้งการให้บริการทางการแพทย์และการให้บริการทางสาธารณสุข Telehealth เป็นระบบนิเวศน์ขนาดใหญ่ท่เช่อมต่อ
ั
ี
ี
ี
ั
ระหว่างโรงพยาบาล แพทย์ เภสัชกร ผู้ให้บริการท่เก่ยวข้องกับการแพทย์และสาธารณสุข รวมถึงคนไข้ และประชาชนท่วไปผ่านทางช่องทางดิจิทัล
ั
Telehealth ไม่เพียงแต่จะครอบคลุมท้งการวินิจฉัย การรักษาทางไกล และการติดตามการรักษา เหมือน Telemedicine เท่าน้น แต่ยัง
ั
ครอบคลุมการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ การให้คาปรึกษา การแจ้งเตือน การนัดหมาย การเข้าแอดมิทในโรงพยาบาล รวมไปถึงการให้ความรู้และ
�
ื
ี
�
ี
การสร้างความตระหนักแก่ประชาชนและคนไข้เก่ยวกับเร่องของสุขภาพอีกด้วย ผู้ท่ให้บริการของ Telehealth ไม่ได้ถูกจากัดอยู่เฉพาะผู้ท ่ ี
ี
เป็นแพทย์เท่าน้น แต่ยังหมายรวมถึงบุคลากรในระบบสาธารณสุขอ่น ๆ เช่น เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพบาบัด รวมถึงผู้เช่ยวชาญ
�
ื
ั
ด้านแพทย์และสุขภาพอื่น ๆ ด้วย
ี
ี
่
ี
ึ
้
ั
ี
ดงนน หากเปรยบเทยบกนระหว่าง Telehealth และ Telemedicine แล้ว Telehealth จงมขอบเขตทกว้างกว่า Telemedicine
ั
ั
เพราะไม่ได้เฉพาะเจาะจงแค่การรักษาเฉพาะโรคหรือเฉพาะทางทางการแพทย์เหมือน Telemedicine เท่านั้น (Clinical treatments) แต่ยัง
หมายรวมถึงการรักษาโดยทั่วไปและการให้บริการด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับทั้งการแพทย์และสาธารณสุข (Non-clinical treatments) รวมถึง
ข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขอีกด้วย
กำรใช้ Telemedicine ในประเทศไทย ส�ำหรับสถำนกำรณ์ COVID-19
สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ในประเทศไทย ส่งผลให้
หน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนมีการใช้ระบบประชุมผ่านส่ออิเล็กทรอนิกส์
ื
ที่เรียกว่า Video Conference เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้งานต่าง ๆ สามารถด�าเนิน
ไปได้อย่างต่อเนื่องและยังลดการเดินทางของเจ้าหน้าท่ท่จะเข้ามาทางาน
�
ี
ี
ซึ่งอาจท�าให้มีโอกาสเสี่ยงในการรับเชื้อ COVID-19
ื
�
กระทรวงดิจิทัลเพ่อเศรษฐกิจและสังคมได้มีการกาหนดแนวทาง
การเลือกใช้ระบบ Video Conference มาปรับใช้สาหรับ Telemedicine
�
โดยเน้นวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ ได้แก่ 1) การคัดกรองผู้ป่วย
2) การรักษา และ 3) การติดตามผลการรักษา และยังได้ออกค�าแนะน�าใน
�
การนา Telemedicine มาใช้ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรค
COVID-19 อีกด้วย
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ได้มีการน�า Telemedicine มาใช้ โดยได้จัดให้มีโครงการประเมิน ดูแล ฟื้นฟู บริการผู้สูงอายุ
�
และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซ่งถือเป็นนวัตกรรมทางการแพทย์ท่ประสบความสาเร็จในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองท่ม ี
ึ
ี
ี
อาการเฉียบพลันร้ายแรงได้ แพทย์สามารถเข้าถึงผู้ป่วยได้โดยผ่านระบบ Video Conference ซึ่งจะช่วยลดอุปสรรคด้านเวลาและระยะเวลาใน
ื
ี
ิ
การเดินทางของผู้ป่วยเพ่อมาพบแพทย์ และเหมาะอย่างย่งกับการให้บริการผู้ป่วยท่อยู่ในภาวะเฉียบพลันและต้องการการรักษาในวินาทีชีวิต
อย่างเร่งด่วน
12 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 146