Page 120 - InsuranceHandbook
P. 120
บทที่ 8
คนกลางประกันภัย
วรรณี คงภักดีพงษ ์
คนกลางประกันภัย (Insurance Intermediaries) ซึ่งประกอบด้วย ตัวแทนประกันภัย (Insurance Agent)
และนายหน้าประกันภัย (Insurance Broker) เป็นช่องทางการขายที่สำคัญของธุรกิจประกันภัยในประเทศไทย โดย
ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระหว่างผู้ขอเอาประกันภัย และบริษัทประกันภัยเข้าด้วยกัน แต่จะมีบทบาทที่แตกต่างกัน
1. ประเภทของคนกลางประกันภัย
ในการเอาประกันภัยโดยทั่วไป มักจะมีคนกลางเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งเราสามารถจะจัดประเภทคนกลาง
ประกันภัย (Insurance Intermediaries) ได้ 2 ประเภท คือ
้
1.1 ตัวแทนประกันภัย (Insurance Agent) คือ ผู้ที่บริษัทประกันภัยมอบหมายใหเป็นบุคคลที่ไปทำการ
ชักชวนผู้มุ่งหวังเอาประกันภัยมาทำสัญญาประกันภัยกับบริษัทประกันภัยที่ตนสังกัดอยู่ โดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ได้ทำ
สัญญาตกลงระหว่างตัวแทนประกันภัยกับบริษัทประกันภัย เช่น เป็นลูกจ้างประจำบริษัท หรือเป็นตัวแทนอิสระ
ผู้ที่จะเป็นตัวแทนประกันภัยของบริษัทได้ต้องเป็นผู้ทบริษัทประกันภัยมอบความไว้วางใจ และเป็นผู้จัดส่งให ้
ี
่
ิ
บุคคลนั้นไปสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันวินาศภัยจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสรม
้
ุ
การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ซึ่งอนุญาตใหตัวแทนประกันภัย 1 คน สามารถส่งงานประกันภัยได้สูงสด
เพียง 2 บริษัทเท่านั้น โดยตัวแทนประกันภัยผู้นั้นต้องได้รับความเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรจากบริษัทประกันภัย
แห่งแรกที่ตนสังกัดก่อน จึงจะส่งงานให้บริษัทประกันภัยอีกแห่งได้
์
รายได้ของตัวแทนประกันภัยมาจากค่าบำเหน็จซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายในการขายกรมธรรมประกันภัย ตามอัตราที่
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) กำหนด และในบางบริษัทอาจจะให้
เงินเดือนแก่ตัวแทนประกันภัยบ้าง ซงขึ้นอยู่กับนโยบายของบริษัทประกันภัยที่ตัวแทนประกันภัยผู้นั้นสังกัดอยู่
่
ึ
รูปภาพที่ 8-1 ตัวอย่างใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันวินาศภัย
์
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
ิ
ั
ิ
้
ิ
ิ
ํ