Page 116 - InsuranceHandbook
P. 116
บทที่ 7 ช่องทางการขายผลิตภัณฑ์ประกันภัย 97
่
8. การขายผ่านชองทางอื่น ๆ (Others)
ื
้
่
่
ื
คอ การขายผานช่องทางอน ๆ เช่น การขายผานรานสะดวกซื้อ ที่บริษัทประกันภัยใช้ในการจำหนาย
่
่
ผลิตภัณฑ์ประกันภัยของตน
ั
ิ
แม้ว่าข้อมูลเชิงสถิติที่รวบรวมโดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกจประกนภัย
(คปภ.) จะมิได้บ่งชี้ถึงช่องทางผ่านทางดิจิทัล เช่น การขายผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ แต่การเปลี่ยนแปลง
ั
ึ้
เชิงพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ใช้เวลามากขนกับการใช้ และเสพสื่อต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ประกอบกับการพฒนา
เชิงเทคโนโลยี ก็ทำให้คาดเดาได้ว่าการขายผ่านช่องทางใหม ๆ โดยมีเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นตัวขับเคลื่อน หรือการ
่
เข้าถึงผู้บริโภคผ่านสื่อโซเชียลมีเดียที่มผู้ใช้จำนวนมาก เช่น Facebook, YouTube, Instagram จะมีปรมาณมาก
ี
ิ
ขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่เข้าใจง่าย เปรียบเทยบไดด้วยตนเอง หรือแข่งขันกันด้วยราคาหรือ
ี
้
็
็
ื
ความเรวในการทำธุรกรรมเปนหลัก ส่วนช่องทางการขายพนฐาน เช่น การขายผานตัวแทน นายหน้า หรือที่ม ี
้
่
ปฏิสัมพนธ์แบบพบหน้าหรือต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง เช่น การประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน กยังคงมีความ
็
ั
จำเป็นต่อไป
ี
ิ
์
่
ช่องทางทมศักยภาพที่จะเตบโต คือ ช่องทางที่ผู้ลงทุนมีความสามารถในการประยุกตใช้เทคโนโลยีและ
ี
เข้าถึงพฤติกรรมของผู้บริโภค เช่น ช่องทางการขายผ่านธนาคาร ซึ่งสามารถผกบริการเข้ากับระบบ
ู
Online Banking ได้เลย ในขณะที่ศักยภาพของบริษัทประกันภัย และบริษัทนายหนาประกนภัยแต่ละแห่ง ยังมี
ั
้
ความแตกต่างกันมากในเรื่องระดับความสามารถของเทคโนโลยีที่มอยู่ จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะมีการแกว่งของ
ี
ส่วนแบ่งตลาด และในรายที่ไม่สามารถปรับตัวอาจจะต้องเลิกกจการ หรือเน้นตลาดเฉพาะที่ตนเชี่ยวชาญและเน้นที่
ิ
การให้บริการ มากกว่าความสะดวกรวดเร็ว หรือการแข่งขันกันด้วยราคา ทั้งนี้ หากไม่สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
เลยก็อาจจะไม่สามารถลดต้นทุนการดำเนินงานได ้
ี่
ช่องทางที่มีแนวโน้มจะลดบทบาทลงหรือคงท คือ การขายผ่านไปรษณีย์ และการขายผ่านทางโทรศัพท์ อัน
ั
เนื่องมาจากความต้องการความเป็นส่วนตัวมากขึ้นของผู้บริโภค และการบงคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการรักษาข้อมูล
ส่วนบุคคลที่ทำให้การได้มาซึ่งข้อมูลสำหรับติดต่อลูกค้ายากขึ้นและต้องใช้ความระมัดระวังมากขึ้น
ทั้งนี้ แม้ตลาดการขายสินค้าออนไลน์จะเติบโตอย่างก้าวกระโดด ธุรกิจประกันภัยยังคงมีข้อจำกัดที่ทำให้ไม่
ื่
ี
สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วอย่างสินค้าประเภทอน อันเนื่องมาจากการซื้อผลิตภัณฑ์ประกันภัยต้องมภัยที่ต้องการ
ั
ี
ุ
รับความคุ้มครอง ดังนั้นแม้จะมีการกระตุ้นการขาย เช่น ลดเบ้ยประกนภัยเมื่อซื้อประกันภัยอบัติเหตุการเดินทาง
หรือประกันภัยรถยนต์ แต่หากไม่มีการเดินทางไปต่างประเทศหรือรถยังไม่หมดระยะเวลาประกันภัย ลูกคาก็ไม่เห็น
้
่
ความจำเป็นของการซื้อประกันภัย และไมสามารถซื้อประกันภัยซ้อนได้ อีกปัจจัยหนึ่ง คือ ระเบียบว่าด้วยการเสนอ
ั
ขายผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่จะตองเปนไปตามระเบียบของสำนกงานคณะกรรมการกำกบและส่งเสริมการประกอบ
ั
็
้
ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ดังนั้นบริษัทประกันภัยจึงไม่สามารถเพมช่องทางการขายผลิตภัณฑ์ประกนภัยได้อิสระ
ิ
่
ั
อย่างสินค้าทั่วไป
อย่างไรก็ดี ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัย และการเกิดโรคระบาด
ึ
ิ่
อย่างโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้เพมความตระหนักให้กับสังคม โดยรวมถงความสำคัญของ
้
้
ิ
การเอาประกันภัย ดังนั้นแนวโนมของธุรกจประกันภัยโดยรวมน่าจะยังคงเติบโตอย่างมั่นคงตามความกาวหนาของ
้
เศรษฐกิจต่อไป
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ั
้
ํ
ิ
ิ
์
ั