Page 124 - InsuranceHandbook
P. 124

บทที่ 8 คนกลางประกันภัย  105





 นายหน้าประกันภัยต่อ จะได้รับค่าบำเหน็จประกันภัยต่อจากบริษัทรับประกันภัยต่อที่รับความเสี่ยงภัย แต ่  3. หน้าที่ของนายหน้าประกันภัย
 อัตราค่าบำเหน็จประกันภัยต่อนี้ไม่มีการกำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกจ  1. ให้คำปรึกษาในการจัดสรรกรมธรรม์ประกันภัยที่มีความคุ้มครอง และให้ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เอาประกันภัย
 ิ
 ประกันภัย (คปภ.) แต่จะขึ้นอยู่กับข้อตกลงของบริษัทเอาประกันภัยต่อตามประเภทกรมธรรม์ และปัจจัยอื่น ๆ       2. ให้การดูแลต่อรองอัตราค่าเบี้ยประกันภัยในราคาที่เหมาะสมและดีที่สุด
                    3. ให้คำปรึกษา และดูแลในกรณีที่เกิดความเสียหาย ตลอดจนการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
 สิ่งสำคัญสำหรับผู้ที่จะซื้อประกันภัยผ่านคนกลาง ไม่ว่าจะเป็นตัวแทนหรือนายหน้าประกันภัย จะต้องตรวจดูให้  4. ติดตาม ดูแล ต่อรอง จำนวนการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเมื่อเกิดความเสียหายต่อผู้เอาประกันภัยตลอดจน

 มั่นใจว่า คนกลางนั้นมีใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันวินาศภัย หรือใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ออกโดย  การรับเงินค่าสินไหมทดแทน
 ั
 สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกนภัย (คปภ.) และเป็นใบอนุญาตที่ยังไม่หมดอาย ุ  5. แจ้งข่าวสารในกรณีที่เกิดเหตุความเสียหายในสังคม ซึ่งอาจจะมีผลโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อผู้เอาประกันภัย
 เท่านั้น           6. คัดสรรบริษัทประกันภัยซึ่ง

                       6.1 มีความมั่นคงทางการเงิน
 2. บทบาทของนายหน้าประกันภัย (The Role of Insurance Broker)   6.2 มีความชำนาญในประเภทกรมธรรม์ประกันภัยนั้น ๆ
 ็
 นายหน้าประกันภัย เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเรื่องประกันภัยซึ่งเป็นธุรกิจเฉพาะเรื่องการประกันภัยเปน  6.3 มีเครือข่ายในการให้บริการอย่างทั่วถึงและครบวงจร
 ั
 อย่างดี เช่น ความคุ้มครองในกรมธรรม์ประกันภัยประเภทต่าง ๆ อัตราค่าเบี้ยประกันภัยที่เหมาะสม บริษัทประกนภัยที่  6.4 มประเภทกรมธรรมประกันภัยในความคุ้มครองที่ครบถ้วน เหมาะสม ตามลักษณะธุรกิจของผู้เอาประกันภัย
                                          ์
                            ี
 มีความมั่นคงทางการเงินในอุตสาหกรรมประกันภัย และความเสี่ยงภัยต่าง ๆ ที่ผู้เอาประกันภัยจำเป็นต้องทราบ เพราะ  6.5 มีอัตราค่าเบี้ยประกันภัยที่เหมาะสม
 สิ่งเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อภาคธุรกิจประกันภัย และระบบเศรษฐกิจทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ หาก  6.6 มีทีมงานให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ภาคธุรกิจไม่ได้รับความคุ้มครองต่อความเสี่ยงภัยจากการประกันภัยแล้ว การขยายตัวทางเศรษฐกิจกจะไม่สามารถ  6.7 มีความยุติธรรมในการพิจารณาค่าสินไหมทดแทน
 ็
 เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน และเป็นไปอย่างล่าช้า    7. มีความเป็นมืออาชีพ
 ี
 ดังนั้นบทบาทของนายหน้าประกันภัยจึงมส่วนช่วยธุรกิจ ดังนี้   7.1 มีความซื่อสัตย์ (Integrity)
 1. ส่งเสริมการตลาดแบบสร้างสรรค์ (Innovative marketing) บทบาทนายหน้าประกันภัยทำให้ประชาชน   7.1.1 ต่อลูกค้า เช่น แจ้งเงื่อนไขความคุ้มครองของกรมธรรมประกันภัย ความมั่นคงของ
                                                                                    ์
 รวมทั้งผู้ประกอบการตระหนักถึงประโยชน์ของการประกันภัยรวมถึงความต้องการของตลาดประกันภัย   บริษัทประกันภัย รักษาความลับของลูกค้า

 2. ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลไปยังผู้บริโภค (Dissemination of Information to Customers) นายหน้า  7.1.2 ต่อบริษัทรับประกันภัย เช่น แจ้งลักษณะภัยของผู้เอาประกันภัยตามความเป็นจริง
 ประกันภัยจะจัดหาข้อมูลที่สำคัญให้แกผู้เอาประกันภัย ทำหน้าที่เปรียบเสมือน “ฝ่ายจัดซื้อ” เช่น หาความคุ้มครองท ่ ี  7.1.3 ต่ออาชีพ เช่น ศึกษาหาความรู้และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา
 ่
 จำเป็นสำหรับผู้เอาประกันภัย หาเงื่อนไขและทางเลือกต่าง ๆ รวมถึงอัตราเบี้ยประกันภัยที่เหมาะสม   7.2 มีความรับผิดชอบ (Accountability) ดูแลและให้บริการลูกค้าตลอดอายุกรมธรรม์ประกันภัย

 3. ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลไปยังตลาดประกันภัย (Dissemination of Information to The Marketplace)   7.3 มีความยุติธรรม (Fairness) ต่อผู้เอาประกันภัย บริษัทประกันภัย และสังคมส่วนรวม
 นายหน้าประกันภัยทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลความต้องการของผู้เอาประกันภัยให้แก่บริษัทประกันภัย เพื่อจัดทำสัญญา  7.4 มีความโปร่งใส (Transparency) ตรวจสอบได้โดยผู้สอบบัญชี (Auditor) มีการจัดทำสมุดบัญชีแยก
 ประกันภัยที่มีความคุ้มครองที่เหมาะสมตามความจำเป็น และความต้องการของผู้เอาประกันภัย เป็นการช่วยกระตุ้นให้  ประเภทเฉพาะ 2 เล่ม คือ Trust Account และ Non-Trust Account ตามที่ได้อธิบายข้างต้น
 เกิดการพัฒนา และขยายตัวของธุรกิจประกันภัยให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
 4. ส่งเสริมการแข่งขันที่ดี (Sound Competition) การให้ความรู้การประกันภัยแก่ผู้เอาประกันภัยและ

 ประชาชนเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดความต้องการซื้อกรมธรรม์ประกันภัยมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการผลิตกรมธรรม์ประกนภัยและ
 ั
 ์
 ิ
 การบริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด สร้างบรรยากาศแห่งการแข่งขันในเชิงสร้างสรรค ส่งเสรม
 การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
 ั
 5. ส่งเสริมการกระจายความเสี่ยงภัยให้กับบริษัทประกันภัย (Spread Insurer’s risks) การที่บริษท
 รับประกันภัยรับเอาความเสี่ยงด้านประกันภัย (Insurance Risk) จากผู้เอาประกันภัยต่าง ๆ บริษัทจะต้องกระจาย
 ความเสี่ยงภัยให้เหมาะสม ไม่มีการกระจุกตัวของภัยใดภัยหนึ่งมากเกินความสามารถในการรับประกันภัย อันจะมีผลต่อ
 ความสามารถในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพคล่องของบริษัทประกันภัยเอง นายหน้า

 ประกันภัยจะช่วยทำหน้าที่กระจายภัยให้กับบริษัทประกันภัยหลาย ๆ บริษัท และรวมถึงการกระจายความเสี่ยงภัยด้วย
 การจัดการประกันภัยต่อตามบทบาทของนายหน้าประกันภัยต่อ









                                                    ิ
                                                        ั
                                                               ํ
                                                             ้
                                      ิ
                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                                  ั
                                       ิ
                                       ์
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129