Page 128 - InsuranceHandbook
P. 128

บทที่ 9 บทบาทของผู้พิจารณาการรับประกันภัย  109




                         3.5 ต้องกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยที่พอเหมาะ และสมควรกับสภาพความเสี่ยงของภัยแต่ละราย และ

              ของภัยโดยรวมเมื่อมีภัยรายใหม่ ๆ เพิ่มเข้ามาในกลุ่ม
                         3.6 ต้องทำการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอย่างถูกต้องตรงตามเงื่อนไขความคุ้มครองของ
              กรมธรรม์ประกันภัยและหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
                         3.7 ต้องรับประกันภัยโดยใช้สมมติฐานและหลักเกณฑ์เดียวกันกับที่ใช้ในการกำหนด

              อัตราเบี้ยประกันภัยและการกำหนดเงื่อนไขความคุ้มครองสำหรับภัยประเภทเดียวกันนั้น
                         3.8 คำนึงถึงผลการรับประกันภัยสทธิเสมอเมื่อรับงานใหมเข้ามา เบี้ยประกันภัยที่ได้รับมานั้น จะเป็น
                                                      ุ
                                                                         ่
              เบี้ยประกันภัยรับก่อนการเอาประกันภัยต่อที่เราเรียกว่าเบี้ยประกันภัยรวม (Gross Premium) หากมีการ
                           ่
              เอาประกนภัยตอก็จะต้องหักเบี้ยประกันภัยต่อ (Reinsurance Premium Ceded) ออกไป เบี้ยประกันภัยส่วนที่
                      ั
                                                       ั
              เหลือซึ่งเป็นส่วนที่ตกเป็นของบริษัทคือ เบี้ยประกนภัยสุทธิที่เก็บไว้เอง (Retained Premium) จะเป็นส่วนสำคัญที่
                                                                    ั
              ส่งผลต่อกำไร หรือขาดทุนของบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษัทประกนภัยจะใช้การประกันภัยต่อเป็นเครื่องมือบริหาร
              ความเสี่ยงในการรับประกันภัยรายใหญ่ที่เกินขีดความสามารถในการรับเสี่ยงภัยไว้เอง ดังนั้นการวางแผนในการจัด
              ประกันภัยต่อรวมถึงการคัดเลือกผู้รับประกันภัยต่อจึงมีความสำคัญมาก

                     อย่างไรก็ตาม วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการพิจารณารบประกันภัย คือ การหาสมดุลระหว่างรายไดจาก
                                                                   ั
                                                                                                         ้
                                                                               ื่
                                                                                                 ั
              เบี้ยประกันภัยเทียบกับค่าใช้จ่ายในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายอน ๆ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกบการกระจาย
              ความเสี่ยงทั้งในระยะสั้นและระยะยาวที่สร้างผลกำไรได้

              4. ลักษณะของการพิจารณารับประกันภัย
                     การพิจารณารับประกันภัยโดยทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ

                         4.1 การพิจารณารับประกันภัยส่วนบุคคล (Personal Line Insurance Underwriting) เช่น
                                                     ิ
                                                  ุ
                                             ั
                   ั
                                                                           ั
              ประกนภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล ประกนภัยอบัตเหตุการเดินทาง ประกันอคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย จะใช้ข้อมูลจาก
                                                                                                            ่
                             ั
                                                             ่
                                                                                               ั
              ใบคำขอเอาประกนภัยที่ผู้ขอเอาประกันภัยกรอกและสงมาเป็นหลัก ซงในปจจุบันนี้บริษทประกนภัยขนาดใหญ
                                                                          ่
                                                                              ั
                                                                                         ั
                                                                          ึ
                                                                                                      ิ
                                        ิ
                                             ์
              บางแหงจะใช้โปรแกรมคอมพวเตอรและระบบปัญญาประดิษฐ์ [Artificial Intelligence (A.I.)] ในการพจารณา
                    ่
              รับประกนภัยตามปัจจัยหลักที่กำหนดไว้ หากใบคำขอเอาประกนภัยรายนนสามารถผานเกณฑ์ของปัจจัยหลักที่
                                                                    ั
                     ั
                                                                             ั
                                                                                       ่
                                                                             ้
                                             ั
              กำหนดไว้ ก็สามารถจะตกลงรับประกนภัยและออกกรมธรรม์ประกนภัยได้ทันที แต่ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ของปัจจัยหลักที่
                                                                     ั
                                                                                     ื
                                                             ิ
                           ่
              กำหนดไว้ก็จะสงใบคำขอเอาประกนภัยรายนั้นไปให้ผู้พจารณาการรับประกันภัยเพ่อดำเนนการติดต่อขอข้อมูล
                                                                                           ิ
                                            ั
                ่
                                                                               ิ
              เพิมเติมจากผู้ขอเอาประกันภัยต่อไป อย่างไรก็ตาม การใช้โปรแกรมคอมพวเตอร์และระบบปัญญาประดิษฐ์
                                                 ิ
                                                                                                           ั
              [Artificial Intelligence (A.I.)] ในการพจารณารับประกันภัยส่วนบุคคลนี้ อาจเกิดช่องโหว่สำหรบ
              ผู้ขอเอาประกันภัยบางรายที่มีเจตนาไม่สุจริต และไม่แถลงข้อความจริงในกรณีที่มีการเอาประกันภัยบางอย่าง เช่น
              การเอาประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล ไว้กับบริษัทประกันภัยหลายแห่งในเวลาเดียวกัน
                                 ิ
                         4.2 การพจารณารับประกันภัยเชิงพาณิชย์ (Commercial Line Insurance Underwriting) จะมี
                                                                                              ุ
                          ้
              ความสลับซับซอนมากกว่าการพิจารณารับประกันภัยส่วนบุคคล โดยเฉพาะในกรณของโรงงานอตสาหกรรมขนาด
                                                                                   ี
                                   ี
              ใหญ่ ซ่งในทางปฏิบัติจะมคนกลางประกันภัย เช่น นายหน้าประกันภัย เป็นผู้จัดทำข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งรายงานการ
                    ึ
              สำรวจภัย (Survey Report) ส่งมาให้ผู้พิจารณาการรับประกันภัยเพื่อทำการประเมินความเสี่ยง ในบางกรณี บริษัท
                   ั
              ประกนภัยก็จะเป็นฝ่ายที่ติดต่อขอเข้าไปทำการสำรวจภัยในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งนั้นเอง โดยการสงผู้สำรวจ
                                                                                                    ่
                                                                                 ้
              ความเสี่ยง (Risk Surveyor) หรือวิศวกรประเมนความเสี่ยง (Risk Engineer) เขาไป และนำข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับ
                                                      ิ
                                          ู
                                                                                                ิ
                                                                                      ื่
                                   ั
              จากการสำรวจภัย มาจดทำในรปของรายงานการสำรวจภัย (Survey Report) เพอส่งให้ผู้พจารณาการรับ
              ประกันภัยใช้ในการประเมินความเสี่ยง ตลอดจนการกำหนดเงี่อนไขความคุ้มครอง จำนวนเงินเอาประกันภัย และ
                                                ู
                                ี
                                                                                                  ี
                                                            ี
              อัตราเบี้ยประกันภัยท่เหมาะสม ดังนั้นผ้สำรวจความเส่ยงหรือวิศวกรประเมินความเสี่ยงจะทำหน้าท่เป็นหูเป็นตา
              แทนผู้พิจารณาการรับประกันภัย ในกรณีที่โรงงานอตสาหกรรมแห่งนั้นมีประวัติการเกดวินาศภัยจากภัยบางอย่าง
                                                         ุ
                                                                                      ิ
                                       ์
                                       ิ
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133