Page 132 - InsuranceHandbook
P. 132
บทที่ 9 บทบาทของผู้พิจารณาการรับประกันภัย 113
1
่
6. วัฏจักรการรับประกันภัย (Underwriting Cycle) โดยทั่วไปแล้ว บริษัทประกันวินาศภัยมักจะเข้มงวดกับมาตรฐานในการรับประกันภัย และเพิมอัตรา
วัฏจักรการรับประกันภัย (Underwriting Cycle) ถือเป็นลักษณะเฉพาะของธุรกิจประกันวินาศภัยซึ่งมีการ เบี้ยประกันภัยหลังจากที่เกิดการขาดทุนจากการรับประกันภัย หรือการลงทุนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน มาตรฐาน
ี
่
ั
ั
ั
เปลยนแปลงที่เป็นวัฏจักรขึ้นลง ทั้งในเรื่องของอตราเบี้ยประกันภัย เงื่อนไขการรบประกนภัย ระดับความเสี่ยงที่ ในการรับประกันภัยที่เข้มงวดขึ้น และอัตราเบี้ยประกันภัยที่สูงขึ้นจะทำให้บริษัทประกันภัยเริ่มมีกำไร และมี
่
ั
ั
ิ่
้
ิ่
ิ่
ยอมรับได้ กำไร และเงินกองทุน โดยจะมีการเพมขึ้นหรือลดลงตามระยะเวลาที่เปลี่ยนไป เงินกองทุนสะสมเพมมากขึ้น เงินกองทุนและผลกำไรที่เพมขึ้นดังกลาวทำใหความสามารถในการรบประกนภัยและ
ความสามารถในการแข่งขันของบริษัทประกันภัยเพมมากขึ้นตามไปด้วย อย่างไรกตาม ภาวะการประกอบธุรกิจที่ม ี
ิ่
็
กำไรในช่วงระยะเวลาหนง จะสร้างแรงจูงใจให้เกิดการแข่งขันอย่างรุนแรงในตลาด เพอช่วงชิงให้ได้มาซึ่งเบี้ย
ื่
่
ึ
่
ประกันภัยและส่วนแบ่งตลาดทเพมมากขึ้น ซึ่งวิธีการที่ใช้โดยทั่วไปก็คือการปรับอตราเบี้ยประกันภัยให้ถูกลง และ
่
ั
ิ
ี
ั
ผ่อนคลายเกณฑ์ที่ใช้ในการรับประกนภัยกว่าที่เคยเป็นมา
เนื่องจากลักษณะเฉพาะของธุรกิจประกันวินาศภัยเป็นการรับเบี้ยประกันภัยเข้ามาก่อน เพอให้
ื่
ั
ั
ความคุ้มครองกบความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต การลดเบี้ยประกันภัยลงไปจนต่ำกว่าอตราที่ควรจะเป็น
ั
ั
่
จะทำให้อตราเบี้ยประกันภัยนั้นไม่สะท้อนถึงความเสี่ยงที่แท้จริง และส่งผลกระทบตอผลการรบประกนภัยและ
ั
ึ
ผลประกอบการของบริษัทในอนาคตอย่างหลีกเล่ยงไม่ได้หากมีความเสียหายเกิดข้น โดยเฉพาะความเสียหาย
ี
ขนาดใหญ่ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงาน และเงินกองทุนของบริษัท
ั
ิ
้
ั
ั
หากบรษทตองประสบกบผลการรบประกันภัยที่ขาดทุนอย่างต่อเนื่อง นอกจากเงินกองทุนของบริษัท
ั
จะลดลงแลว ความสามารถในการรบประกนภัยของบรษทก็จะลดลงตามไปด้วย เนื่องจากบริษัทประกันภัยต้องมี
ั
ิ
ั
้
การดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยงตามข้อกำหนดของกฎหมาย ด้วยเหตุนี้ บริษัทประกันภัยจึงต้องเพม
ิ่
้
ั
้
้
้
ึ
ี
ั
ิ
่
ู
ั
ิ
่
ความเขมงวดในการรับงาน เพมมาตรฐานในการรับประกนภัยใหสงขน และเพมอตราเบยประกนภัย เพื่อให้เกิด
ึ
ั
ู
กำไรและการสะสมของเงินกองทุนในอนาคต ซ่งการปรับตัวไปส่จุดดังกล่าว ก่อให้เกิดวัฏจักรการรับประกนภัย
ดังที่ได้อธิบายข้างต้นอีกครั้ง
ั
ในช่วงที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงซึ่งอตราเบี้ยประกันภัยจะอยู่ในระดับคงที่หรือมีการปรับลดลง
ประกันภัยสามารถหาซื้อได้ง่าย และมาตรฐานในการรับประกันภัยไม่เข้มงวดมากนัก เรียกว่าเป็นช่วงที่ตลาดอ่อนตัว
ิ่
ั
ี
(Soft Market) และในทางตรงกันข้าม ช่วงเวลาที่มีการเพมขึ้นของอตราเบี้ยประกันภัย และมความเขมงวดใน
้
มาตรฐานการรับประกันภัย จะเรียกว่าเป็นช่วงที่ตลาดแข็งตัว (Hard Market)
ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิด Hard Market
ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิด Hard Market มีดังนี้
2
รูปภาพที่ 9-2 วัฏจักรการรับประกันภัย 1. การเกิดมหันตภัย (Catastrophe)
มหันตภัย (Catastrophe) หมายถึง เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสยหายขนาดใหญ ซ่งในตางประเทศได้มี
ี
ึ
่
่
ั
การกำหนดเกณฑ์ในการจัดเหตุการณ์ที่เป็นมหนตภัยไว้ว่า เป็นเหตุการณ์ที่ส่งผลทำให้บรษัทประกันภัยมีการจ่าย
ิ
ค่าสินไหมทดแทนตั้งแต่ 25 ล้านเหรียญสหรัฐขึ้นไป
มหันตภัยมักจะเกิดจากภัยธรรมชาติ เช่น ลมพายุ น้ำท่วม แผ่นดินไหว และไฟป่า อย่างไรก็ตาม มหันตภัย
่
ยังอาจเกิดจากน้ำมือของมนุษย์ได้เช่นกัน เช่น กรณีของเหตุการณ์ 911 ซึ่งเป็นเหตุการณ์กอการร้ายครั้งใหญ่ที่สุดใน
1 เรยบเรยงจากบทความเรอง “การเขาสู Hard Market ของธุรกิจประกันวินาศภัย” เขียนโดย Thai Re Knowledge Center ประเทศสหรัฐอเมริกา
่
ื
้
่
ี
ี
บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)
2 ขอบคุณภาพจาก Thai Re Knowledge Center บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำกัด (มหาชน)
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ