Page 149 - InsuranceHandbook
P. 149
130 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
หมายเหตุ: สำหรับกรมธรรม์ฯ ที่ 4 ซึ่งมีจำนวนเงินเอาประกันภัยเกิน 100 ล้านบาทนั้น บริษัทประกนภัย 3. เมื่อผลของการรับประกันภัยตามสญญาแบบอน ๆ เช่น สัญญาประกันภัยต่อแบบส่วนเกิน (Surplus
ั
ื
่
ั
ก. ในฐานะผู้เอาประกันภัยต่อจะต้องจัดการประกันภัยต่อเฉพาะรายในส่วนที่เกิน 100 ล้านบาท ไปยัง Treaty) ประสบผลขาดทุนมาก แต่สัญญาประกันภัยต่อแบบอตราส่วน (Quota Share Treaty) มผลกำไร ผู้เอา
ั
ี
ผู้รับประกันภัยต่อรายอื่น เช่น บริษัทประกันภัย ข. ซึ่งจะทำให้สัดส่วนการจัดประกันภัยต่อเป็น ดังนี้ ประกนภัยต่ออาจแบ่งงานส่วนนี้ไปให้ผู้รับประกันภัยตอบ้างเพอเป็นการชดเชยผลขาดทุนจากสัญญาประกนภัยต่อ
ั
ื่
่
ั
แบบอื่น ๆ
Net Retention ของผู้เอาประกันภัยต่อ = 10,000,000 บาท (8%) 4. เมื่อผู้เอาประกันภัยต่อต้องการกระจายความเสี่ยงภัยจากมหันตภัยไปให้ผู้รับประกันภัยต่ออย่างทั่วถึง
Quota Share Treaty = 90,000,000 บาท (72%)
Facultative Reinsurance = 25,000,000 บาท (20%) 2) สญญาประกันภัยต่อแบบสวนเกิน (Surplus Treaty)
่
ั
่
่
จากการที่สัญญาประกันภัยตอแบบอัตราส่วน (Quota Share Treaty) มจุดออนตรงที่ผู้เอาประกนภัยต่อ
ั
ี
S Su um m I In ns su ur re ed d [ [T TH HB B] ] ต้องสูญเสียเบี้ยประกันภัยตอสำหรับงานรายย่อยใหแก่ผู้รับประกันภัยต่อโดยไม่จำเป็น จึงได้มีการคิดหารปแบบ
ู
้
่
สัญญาประกนภัยต่อขึ้นใหม่ซึ่งเรียกว่า สัญญาประกันภัยต่อแบบส่วนเกิน (Surplus Treaty) เพอแก้ไขจดอ่อน
ื่
ั
ุ
125,000,000 ดังกล่าว ทำให้สัญญาประกันภัยต่อแบบส่วนเกินได้รับความนิยมจากผู้เอาประกันภัยต่อทั่วไปมากที่สุดในขณะนี้
ภายใต้สัญญาประกันภัยต่อแบบส่วนเกิน (Surplus Treaty) ผู้รับประกันภัยต่อรายหนึ่งหรือหลายราย
100,000,000 ตกลงที่จะรับประกันภัยต่อส่วนที่เกินจากจำนวนที่ผู้เอาประกนภัยต่อกำหนดว่าจะรบเสี่ยงภัยไว้เองตามวงเงินที่
ั
ั
กำหนดไว้ล่วงหน้า ซึ่งเรียกว่า ส่วนรับประกันภัย (line) ทั้งนี้ ผู้เอาประกันภัยต่อและผู้รับประกันภัยต่อจะต้องมีส่วน
ร่วมในเบี้ยประกันภัยและความเสียหายอย่างเป็นสัดส่วน โดยจะกำหนดจำนวนเงินไว้ 2 จำนวน คือ
1. จำนวนเงินสูงสุดที่ผู้เอาประกันภัยต่อจะรับเสี่ยงภัยไว้เอง (Maximum Retention Limit) และ
ิ
2. จำนวนเงนสูงสุดที่ผู้รับประกันภัยต่อจะรับผิดตามสัญญา (Maximum Treaty Limit) ซึ่งโดยปกติจะ
กำหนดเป็นจำนวนเท่า (Number of lines) ของจำนวนเงินสงสดที่ผู้เอาประกันภัยต่อจะรับเสี่ยงภัยไว้เอง
ุ
ู
(Maximum Retention Limit)
1 2 3 4
N Ne et t R Re et te en nt ti io on n Q Qu uo ot ta a S Sh ha ar re e F Fa ac cu ul lt ta at ti iv ve e
รูปภาพที่ 11-5 โครงสร้าง 90% Quota Share, Maximum Treaty Limit 100 ล้านบาทต่อภัย Maximum Treaty Limit
กำหนดเป็นจำนวนเท่าของ S Su ur rp pl lu us s Reinsurer
จากตัวอย่างข้างต้น เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น แต่ละฝ่ายจะร่วมรับผิดชอบค่าเสียหายที่เกิดขึ้นตาม Maximum Retention Limit
อัตราส่วนที่รับเสี่ยงภัยไว้ ดังนี้
1) หากมีความเสียหายเกิดขึ้นในกรมธรรม์ฯ ที่ 1 จำนวน 10,000,000 บาท ทั้งสองฝายจะต้องรับผิดชอบ
่
ค่าสินไหมทดแทนตามอัตราส่วน 90: 10 คือ Quota Share Treaty รับผิดชอบ 9,000,000 บาท และ Maximum Retention Limit R Re et te en nt ti io on n Reinsured
รูปภ
ผู้เอาประกันภัยต่อรับผิดชอบเอง 1,000,000 บาท
2) หากมีความเสียหายเกิดขึ้นในกรมธรรม์ฯ ที่ 4 จำนวน 10,000,000 บาท ทั้งสามฝ่ายจะต้องรับผิดชอบ
ิ
ค่าสนไหมทดแทนตามอัตราส่วน 72: 20: 8 คือ Quota Share Treaty รับผิดชอบ 7,200,000 บาท Facultative รูปภาพที่ 11-6 โครงสร้างของ Surplus Treaty
Reinsurance รับผิดชอบ 2,000,000 บาท และผู้เอาประกันภัยต่อรับผิดชอบเอง 800,000 บาท
หากจำนวนเงินที่ผู้เอาประกันภัยต่อรับเสี่ยงภัยไว้เองลดลง ก็จะทำให้จำนวนเงินที่ผู้รับประกันภัยต่อรับผิด
สัญญาประกันภัยต่อแบบอัตราส่วนเหมาะสำหรับนำไปใช้ในกรณีต่อไปนี้ ตามสัญญาประกันภัยต่อนั้นลดลงในสัดส่วนเดียวกันด้วย
1. เมื่อเปิดรับประกนภัยประเภทใหม และยังไม่มีประสบการณ์ในการรบประกันภัยหรือขาดสถิติเพอการ แต่ถ้าผู้เอาประกันภัยต่อตัดสินใจที่จะรับเสี่ยงภัยไว้เองสำหรับภัยหนึ่งภัยใดมากกว่า Maximum
ั
ื่
ั
่
ตัดสินใจของผู้รับประกันภัยในการประกันภัยประเภทนั้น Retention Limit ตามที่ระบุไว้ในสัญญา ก็จะไม่ทำให้ Maximum Treaty Limit เพิ่มตามไปด้วย
2. การประกันภัยบางประเภทมีผลการรับประกันภัยที่มีความเสี่ยงภัยสูงหรือมีความผันผวนรุนแรงมาก เช่น นอกจากนั้นหากจำนวนเงินเอาประกันภัยของภัยรายหนึ่งรายใดเกินกว่า Maximum Treaty Limit แล้วผู้
การประกันภัยพืชผล การประกันภัยปศุสัตว์ เอาประกันภัยต่อจะต้องจดการประกนภัยต่อเฉพาะรายสำหรบจำนวนเงินเอาประกันภัยส่วนที่เกิน Maximum
ั
ั
ั
Treaty Limit นั้นไปยังผู้รับประกันภัยต่อรายอื่น
ํ
ิ
ิ
ั
์
ั
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
้
ิ