Page 145 - InsuranceHandbook
P. 145
126 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
4.3 ทำให้ผลการดำเนินงานมีเสถียรภาพ บุคคลหรือธุรกิจโดยทั่วไปเอาประกันภัยเพื่อป้องกันความเสียหาย
ทางการเงินจากภัยที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทุกขณะ ในทำนองเดียวกัน ผู้รับประกันภัยโดยทั่วไปเอาประกันภัยต่อเพือ
่
ป้องกันความเสียหายทางการเงินของตนเช่นเดียวกัน มิฉะนั้น หากเกิดความเสียหายขนาดใหญ่แม้เพยงครั้งเดียว ก็
ี
็
อาจทำให้เงินกองทุนที่สะสมมาเปนเวลาหลายปลดลงจนผู้รับประกนภัยประสบปัญหาเสถยรภาพทางการเงินได้
ั
ี
ี
ี
ธุรกิจโดยทั่วไปต้องการให้มผลประกอบการที่มีกำไรสม่ำเสมอมากกว่าผลประกอบการที่ผันผวนหรือขาดทุนหนักใน
บางปี ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ผู้รับประกันภัยโดยทั่วไปเอาประกนภัยต่อเพอลดความไม่แน่นอนจากความเสียหาย
ื่
ั
ื่
ทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้น ตลอดจนเพอควบคมอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) และอัตราส่วน
ุ
ค่าใช้จ่าย (Expense Ratio) ของผู้รับประกันภัยให้มีเสถียรภาพ และช่วยลดความผันผวนของความเสียหายที่
ผู้รับประกันภัยอาจจะประสบในแต่ละปี
ั
4.4 สำรองไว้สำหรับการถอนตวจากการรับประกนภัยบางประเภท เมื่อผู้รับประกันภัยเห็นว่า
ั
การประกนภัยประเภทหนึ่งประเภทใด พนที่หนึ่งพนที่ใด หรือจากตัวแทนรายหนึ่งรายใด ไม่น่ารับประกันภัยไว้เอง
ื้
ื้
ั
หรือไม่ค่อยมีกำไรเท่าที่ควร ผู้รับประกันภัยมีทางเลือก 2 ทาง คือ
์
4.4.1 ให้ความคุ้มครองต่อไปจนกว่ากรมธรรมประกันภัยเหล่านั้นจะหมดอายุลง และไม่รับต่ออายุ
ั
การประกนภัยนั้นอีก
4.4.2 โอนภาระความรับผิดชอบทั้งหมดที่ผู้รับประกันภัยยังมีอยู่โดยการเอาประกันภัยต่อไปยัง
ู
ั
ั
้
ั
ผู้รับประกันภัยต่อที่ยินดีรับประกนภัยต่อสำหรบภัยดังกล่าว เช่น ผรับประกนภัยรายหนึ่งเห็นว่า การประกนภัย
ั
ความรับผิดต่อผลิตภัณฑ์ที่รับประกันภัยไว้ไมค่อยมีกำไรเท่าที่ควร เพราะมอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทนค่อนข้างสูง
ี
่
ั
ี
้
ี
ั
ในขณะที่มีผู้เอาประกนภัยประเภทนี้เพยงไม่กี่ราย ผู้รับประกันภัยรายนอาจตัดสินใจโอนภาระความรบผิดชอบ
ั
ทั้งหมดที่ยังมีอยู่โดยการเอาประกนภัยต่อไปยังผู้รับประกันภัยต่อ เป็นต้น
ิ
ั
ิ
็
4.5 เพ่มความมั่นคงทางการเงิน สำหรับธุรกจประกันภัยการมีเบี้ยประกนภัยเพ่มมากขึ้นเท่าไรกอาจส่งผล
ิ
ต่อความมั่นคงทางการเงินของผู้รับประกนภัยรายนั้นได้ เนื่องจากผู้รับประกันภัยจะต้องกันค่าเบี้ยประกันภัยที่รับ
ั
เข้ามาส่วนหนึ่งซึ่งถือเป็นรายได้รับล่วงหน้าไว้เป็นเงินสำรองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (Unearned
Premium Reserve) ของผู้รับประกันภัย ในขณะที่ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการขายและการดำเนินงาน เช่น ค่าบำเหน็จ
ค่าใช้จ่ายในการออกกรมธรรม ค่าใช้จ่ายในการพิจารณารับประกันภัย ฯลฯ จะถือเป็นรายจ่ายของผู้รับประกันภัย
์
ทันทีที่ได้จ่ายไป การประกนภัยต่อจะช่วยแก้ปัญหาเงินสำรองสำหรับเบี้ยประกนภัยรับที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ เพราะ
ั
ั
ั
ผู้รับประกันภัยต่อจะต้องฝากเงินจำนวนหนึ่งไว้กับผู้เอาประกันภัยต่อในรูปของเงินสำรองเบี้ยประกนภัยต่อ
(Reinsurance Premium Reserve) ตลอดจนการจ่ายค่าบำเหน็จประกันภัยต่อ (Reinsurance Commission) ให้
ผู้เอาประกันภัยต่อ
ั
4.6 รับการสนับสนุนและความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคจากผู้รับประกนภัยต่อ เมื่อผู้รับประกันภัยต้องการ
ิ
ิ
จะขยายการดำเนนงานไปสู่ธุรกจประกนภัยประเภทใหม่ ๆ ก็จำเป็นต้องอาศัยผู้รับประกันภัยต่อในการสนับสนุน
ั
ั
ทางด้านเทคนิคต่าง ๆ เช่น เงื่อนไขกรมธรรม์ แนวทางการพิจารณารับประกนภัย อัตราเบี้ยประกนภัย
ั
กลุ่มเป้าหมาย และความช่วยเหลือที่เป็นประโยชน์ในการขยายงานรบประกันภัยนั้น ๆ ทั้งนี้เพราะผู้รบประกนภัย
ั
ั
ั
ต่อมีเจ้าหน้าที่ซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ตลอดจนประสบการณ์จากการรับประกนภัยที่หลากหลายในประเทศ
ั
อืนไว้คอยช่วยเหลือผู้รับประกนภัยที่เพิงจะมารับประกันภัยงานประเภทนี้
่
ั
่
์
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ