Page 146 - InsuranceHandbook
P. 146
บทที่ 11 การประกันภัยต่อ 127
4.3 ทำให้ผลการดำเนินงานมีเสถียรภาพ บุคคลหรือธุรกิจโดยทั่วไปเอาประกันภัยเพื่อป้องกันความเสียหาย 5. สาระสำคัญของการประกันภัยต่อ
่
ทางการเงินจากภัยที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทุกขณะ ในทำนองเดียวกัน ผู้รับประกันภัยโดยทั่วไปเอาประกันภัยต่อเพือ ในการประกนภัยต่อนอกจากจะนำหลักเกณฑ์ของการประกันภัยทั่วไปมาใช้แล้ว ยังมีสาระสำคัญที่ใช้
ั
ี
ป้องกันความเสียหายทางการเงินของตนเช่นเดียวกัน มิฉะนั้น หากเกิดความเสียหายขนาดใหญ่แม้เพยงครั้งเดียว ก็ เฉพาะการประกันภัยต่อ ดังนี้
อาจทำให้เงินกองทุนที่สะสมมาเปนเวลาหลายปลดลงจนผู้รับประกนภัยประสบปัญหาเสถยรภาพทางการเงินได้ 5.1 การจ่ายค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยในกรณีทเกดวินาศภัยขึ้น ผู้รับประกันภัยมีความรับผิด
ี
็
ี
ั
ิ
ี่
ี
ธุรกิจโดยทั่วไปต้องการให้มผลประกอบการที่มีกำไรสม่ำเสมอมากกว่าผลประกอบการที่ผันผวนหรือขาดทุนหนักใน ที่จะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยนั้นทั้งหมด และสามารถเรียกร้องในส่วนที่มีการ
ื่
บางปี ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ผู้รับประกันภัยโดยทั่วไปเอาประกนภัยต่อเพอลดความไม่แน่นอนจากความเสียหาย เอาประกนภัยตอคืนจากผู้รับประกนภัยตอได้ สำหรับผู้เอาประกันภัยไมสามารถเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตาม
ั
ั
่
่
ั
่
ื่
ทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้น ตลอดจนเพอควบคมอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) และอัตราส่วน สัญญาประกันภัยต่อจากผู้รับประกันภัยต่อไดโดยตรง เพราะไม่ได้เป็นคู่สัญญากับผู้รับประกันภัยต่อนั้น
ุ
้
ค่าใช้จ่าย (Expense Ratio) ของผู้รับประกันภัยให้มีเสถียรภาพ และช่วยลดความผันผวนของความเสียหายที่ 5.2 การสิ้นสุดลงของสัญญาประกนภัยจะเป็นเหตุให้สญญาประกันภัยต่อสิ้นสุดลงไปด้วย เมื่อ
ั
ั
ผู้รับประกันภัยอาจจะประสบในแต่ละปี สัญญาประกันภัยไม่มีความรับผิดไมว่าด้วยเหตุผลใดก็ตาม สัญญาประกันภัยต่อก็ต้องสิ้นสุดลง เพราะ
่
ั
4.4 สำรองไว้สำหรับการถอนตวจากการรับประกนภัยบางประเภท เมื่อผู้รับประกันภัยเห็นว่า ผู้รับประกันภัยไม่มีความรับผิดต่อผู้เอาประกันภัยแล้ว ผู้รับประกันภัยต่อจึงไม่มความรับผิดต่อผู้เอาประกนภัยต่อซึ่ง
ั
ั
ี
การประกนภัยประเภทหนึ่งประเภทใด พนที่หนึ่งพนที่ใด หรือจากตัวแทนรายหนึ่งรายใด ไม่น่ารับประกันภัยไว้เอง เป็นผู้รับประกันภัยเช่นเดียวกัน
ั
ื้
ื้
หรือไม่ค่อยมีกำไรเท่าที่ควร ผู้รับประกันภัยมีทางเลือก 2 ทาง คือ 5.3 ส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัยของสัญญาประกันภัยต่อเป็นส่วนได้เสียในความรับผิดของ
์
4.4.1 ให้ความคุ้มครองต่อไปจนกว่ากรมธรรมประกันภัยเหล่านั้นจะหมดอายุลง และไม่รับต่ออายุ ผู้รับประกันภัยต่อที่มีกบผู้เอาประกันภัยต่อ ขณะเดียวกันผู้เอาประกนภัยต่อซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยย่อมมีส่วนได้เสีย
ั
ั
การประกนภัยนั้นอีก ในความรับผิดตามสัญญาประกันภัยที่มีกับผู้เอาประกันภัยของตน
ั
4.4.2 โอนภาระความรับผิดชอบทั้งหมดที่ผู้รับประกันภัยยังมีอยู่โดยการเอาประกันภัยต่อไปยัง 5.4 ข้อคุ้มครองตามสญญาประกันภัยต่อ โดยปกติแล้วสัญญาประกันภัยตอจะมเงื่อนไขและความคุ้มครอง
่
ั
ี
ผู้รับประกันภัยต่อที่ยินดีรับประกนภัยต่อสำหรบภัยดังกล่าว เช่น ผรับประกนภัยรายหนึ่งเห็นว่า การประกนภัย เช่นเดียวกับสัญญาประกันภัยเดิม หากเงื่อนไขและความคุ้มครองในสัญญาประกันภัยต่อแตกต่างจาก
ั
ั
ู
ั
้
ั
ความรับผิดต่อผลิตภัณฑ์ที่รับประกันภัยไว้ไมค่อยมีกำไรเท่าที่ควร เพราะมอัตราส่วนค่าสินไหมทดแทนค่อนข้างสูง สัญญาประกนภัยในสาระสำคญจนเห็นไดว่าความรับผิดของผู้รับประกันภัยผิดไปจากที่นำมาเอาประกันภัยต่อแล้ว
ี
่
ั
้
ั
ี
้
ั
ี
ในขณะที่มีผู้เอาประกนภัยประเภทนี้เพยงไม่กี่ราย ผู้รับประกันภัยรายนอาจตัดสินใจโอนภาระความรบผิดชอบ กรณีนี้อาจถือได้ว่าสัญญาประกันภัยต่อนั้นไม่มผลบังคับ เนื่องจากผู้รับประกันภัยไมมีส่วนไดเสียในสัญญาประกนภัย
ั
ี
้
ั
่
ทั้งหมดทยังมีอยู่โดยการเอาประกนภัยต่อไปยังผู้รับประกันภัยต่อ เป็นต้น ต่อตามหลักส่วนไดเสียในเหตุที่เอาประกันภัย
ี่
ั
้
ิ
4.5 เพ่มความมั่นคงทางการเงิน สำหรับธุรกจประกันภัยการมีเบี้ยประกนภัยเพ่มมากขึ้นเท่าไรกอาจส่งผล 5.5 ผู้รับประกนภัยตอต้องผูกพันตนในการกระทำของผู้รับประกันภัย โดยปกติผู้รับประกันภัยจะ
ั
ิ
็
ิ
่
ั
ั
ต่อความมั่นคงทางการเงินของผู้รับประกนภัยรายนั้นได้ เนื่องจากผู้รับประกันภัยจะต้องกันค่าเบี้ยประกันภัยที่รับ เปรยบเสมอนเป็นผู้รับประกนภัยนำ (Leading Underwriter) ถึงแม้ว่าผู้รับประกันภัยจะเอาประกันภัยต่อไปยัง
ี
ื
ั
เข้ามาส่วนหนึ่งซึ่งถือเป็นรายได้รับล่วงหน้าไว้เป็นเงินสำรองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (Unearned ผู้รับประกันภัยต่อกี่รายก็ตาม และถึงแม้อตราส่วนในการรับเสี่ยงภัยไว้เอง (Retention Ratio) จะน้อยกว่าของ
ั
Premium Reserve) ของผู้รับประกันภัย ในขณะที่ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการขายและการดำเนินงาน เช่น ค่าบำเหน็จ ผู้รับประกันภัยต่อก็ตาม ผู้รับประกันภัยต่อจะไม่ก้าวก่ายงานในหน้าที่ของผู้รับประกันภัยและยังต้องผกพันในการ
ู
ค่าใช้จ่ายในการออกกรมธรรม ค่าใช้จ่ายในการพิจารณารับประกันภัย ฯลฯ จะถือเป็นรายจ่ายของผู้รับประกันภัย กระทำของผู้รับประกันภัยที่มีกับผู้เอาประกันภัยทกประการ เช่น การตัดสินใจจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้
์
ุ
ทันทีที่ได้จ่ายไป การประกนภัยต่อจะช่วยแก้ปัญหาเงินสำรองสำหรับเบี้ยประกนภัยรับที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ เพราะ ผู้เอาประกันภัยต้องถือความเห็น (โดยสุจริต) ของผู้รับประกันภัยเป็นสำคัญ
ั
ั
ั
ผู้รับประกันภัยต่อจะต้องฝากเงินจำนวนหนึ่งไว้กับผู้เอาประกันภัยต่อในรูปของเงินสำรองเบี้ยประกนภัยต่อ
(Reinsurance Premium Reserve) ตลอดจนการจ่ายค่าบำเหน็จประกันภัยต่อ (Reinsurance Commission) ให้ 6. ประเภทของการประกันภัยต่อ
ผู้เอาประกันภัยต่อ การประกันภัยต่อ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
4.6 รับการสนับสนุนและความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคจากผู้รับประกนภัยต่อ เมื่อผู้รับประกันภัยต้องการ 6.1 การประกนภัยต่อเฉพาะราย (Facultative Reinsurance)
ั
ั
ิ
จะขยายการดำเนนงานไปสู่ธุรกจประกนภัยประเภทใหม่ ๆ ก็จำเป็นต้องอาศัยผู้รับประกันภัยต่อในการสนับสนุน 6.2 การประกันภัยต่อตามสัญญา (Treaty Reinsurance)
ิ
ั
ทางด้านเทคนิคต่าง ๆ เช่น เงื่อนไขกรมธรรม์ แนวทางการพิจารณารับประกนภัย อัตราเบี้ยประกนภัย
ั
ั
กลุ่มเป้าหมาย และความช่วยเหลือที่เป็นประโยชน์ในการขยายงานรบประกันภัยนั้น ๆ ทั้งนี้เพราะผู้รบประกนภัย 6.1 การประกันภัยต่อเฉพาะราย (Facultative Reinsurance)
ั
ั
ั
ต่อมีเจ้าหน้าที่ซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ตลอดจนประสบการณ์จากการรับประกนภัยที่หลากหลายในประเทศ การประกนภัยต่อเฉพาะราย เปนวิธีการประกนภัยตอวิธีแรกที่เก่าแก่ที่สุดของโลกตั้งแต่สมัยที่ยังไม่มี
ั
็
ั
ั
่
อืนไว้คอยช่วยเหลือผู้รับประกนภัยที่เพิงจะมารับประกันภัยงานประเภทนี้ สัญญาประกันภัยต่ออตโนมัติ ซึ่งผู้เอาประกันภัยตอตองเสนอรายละเอยดของภัยแต่ละรายไปให้ผู้รบประกนภัยตอ
ั
่
่
่
ี
ั
้
่
ั
ั
พิจารณา ซงอาจจะกระทำโดยทางจดหมาย โทรศัพท์ โทรสาร ไปรษณีย์อเล็กทรอนิกส์ (e-mail) หรืออน ๆ
ื่
ึ
่
ิ
ั
ี
ู
่
่
ั
้
ผเอาประกนภัยตอสามารถทจะเสนอภัยรายหนึ่งรายใดไปใหผู้รับประกนภัยต่อพิจารณา ซึ่งผู้รับประกันภัยต่อจะ
้
่
ั
ิ
พจารณารายละเอียดของภัยแต่ละรายที่เสนอไป และมีสิทธิ์ที่จะรับ หรือปฏิเสธการรับประกนภัยตอสำหรับ
ภัยรายนั้นได้ตามความเห็นและนโยบายของตน รวมทั้งจะรับประกันภัยต่อในวงเงินเท่าไรก็ได้
ิ
ั
ั
ํ
้
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
์