Page 140 - InsuranceHandbook
P. 140
บทที่ 10 บทบาทของผู้ประเมินวินาศภัย 121
ื
ื่
เพอนสมัยเรียนมหาวิทยาลัยจึงได้ทราบมาว่า นอกจากข้าพเจ้าที่ได้มาสมัครและตกลงทำงานแล้ว ยังมีเพ่อนร่วมชั้น
เรียนมาสมัครงานที่เดียวกันในตำแหน่งเดียวกันถึง 10 คน แต่ทั้งหมดได้ปฏิเสธงานเนื่องจากไม่ใช่งานที่ตรงสายที่
เรียนกันมา
เมื่อเริ่มทำงานแล้วหัวหน้าของข้าพเจ้าได้อบรมสั่งสอนถึงหลักประกันภัย หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ั
กรณีเกิดความเสยหาย นอกจากนี้ ยังได้เรียนรู้ถึงการก่อกำเนิดของการประกนภัย ด้วยแนวคิดที่จะบรรเทาความ
ี
ึ
ื
เสียหายให้กับสมาชิกที่ร่วมลงขันกันเป็นเงินกองกลางไว้ช่วยเหลอเมื่อสมาชิกคนใดคนหน่งประสบเหตุวินาศภัย
บรรเทาความเสียหาย และสามารถฟนฟูกิจการให้กลับมาดำเนินการต่อโดยเร็ว เมื่อได้เรียนรู้หลักการนี้ข้าพเจ้าจึงได้
ื้
เข้าใจข้อดีของการประกันภัย และข้าพเจ้าในเวลานั้นได้เล็งเห็นว่าในฐานะผู้ประเมินวินาศภัยซึ่งเป็นคนกลาง
ระหว่างผู้รับประกันภัยกับผู้เอาประกันภัย หากข้าพเจ้าได้ศึกษาเรียนรู้หลักการให้เข้าใจถ่องแท้แล้วย่อมจะสามารถ
ส่งเสริมให้มีการเอาประกันภัยมากขึ้น ข้าพเจ้าในฐานะคนกลางน่าจะสามารถทำให้บุคคลหรือเจ้าของธุรกิจเข้าใจ
หลักการ ให้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการประกันภัย และมีการเอาประกันภัยหรือซื้อประกันภัยเพอคุ้มครองความ
ื่
เสียหายอันจะเกดแก่ทรัพย์สินรวมถึงธุรกิจหยุดชะงัก อันจะทำให้สามารถกลับฟื้นคนสู่สถานะทางการเงินที่ใกล้เคียง
ื
ิ
ั
ี
เสมือนมิได้เกิดเหตุการณ์ความเสยหายแล้ว กน่าจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจโดยรวม ถือเป็นกุศลอนยิ่งใหญ่ที่จะได้
็
ี
ช่วยเหลอผู้ที่ประสบเหตุวินาศภัย มิใช่ด้วยการเอนเอยงเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ให้เป็นไปตามข้อตกลงในสัญญา
ื
ประกันภัย
จากวันนั้นใน พ.ศ. 2531 ที่เริ่มงานประเมินวินาศภัยจนถึงวันนี้เป็นเวลา 33 ปี ข้าพเจ้ายังทำหน้าที่
ิ
ผู้ประเมินวินาศภัย และยังคงคิดว่าจะทำงานนี้ต่อไป เพอเป็นคนกลางอสระที่ทำให้ผู้รับประกันภัย และ
ื่
ผู้เอาประกนภัยสามารถตกลงค่าสินไหมทดแทนให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ เมื่อดำเนินการได้ถูกต้องแล้ว
ั
ื้
ู
่
ผู้เอาประกันภัยย่อมได้รับการฟนฟสถานะทางการเงินของตนเอง ในสวนของผู้รับประกันภัยก็สามารถชดใช้
ั
็
ี
ิ
คาสนไหมทดแทนให้เปนไปตามหลกการ อนจะเปนการสงเสริมธุรกจให้มการเจริญเติบโต ให้ผู้คนมีความเขาใจ
้
็
ิ
ั
่
่
ิ
่
ั
หลกการจนเห็นความสำคัญของการประกันภัย อนจะเป็นการส่งเสริมความมนคงทางการเงินของประเทศชาต
ั
ั
ู
จากการกระจายความเสี่ยงที่มีมลค่าสูงโดยการประกนภัยต่อไปต่างประเทศ ซึ่งความเสยหายมกจะมีมลค่าสูงเมื่อเกิด
ี
ั
ั
ู
วินาศภัย เมื่อนำความเสี่ยงนั้นกระจายไปทั่วทั้งโลก ผลกระทบจากวินาศภัยที่จะกระทบสถานะทางการเงินของ
ั
ู
ประเทศยอมถกกระจายออกไป ดงจะเห็นได้จากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2554 ที่มีความเสียหายที่เอา
่
ู
ั
่
ั
้
ประกนภัยไว้มลคาหลายแสนลานบาท มีการนำเงินค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับจากการประกนภัยตอไปต่างประเทศ
่
ื้
ั
เข้ามาใช้ในการฟื้นฟูความเสียหายภายในประเทศ การประกนภัยจึงช่วยให้ธุรกิจต่าง ๆ สามารถฟนฟูกิจการได้อย่าง
ั
รวดเร็ว ตลอดเวลาที่ผ่านมาข้าพเจ้าได้เห็นพฒนาการไปในทางที่ดีขึ้น ผู้คนสนใจการประกันภัยมากขึ้น มีการศึกษา
ื่
ี
ข้อมูลก่อนการเอาประกันภัย ซึ่งผิดไปจากเมื่อก่อนที่ผู้คนมักจะซื้อประกันภัยเพยงเพราะมีเพอนเป็นนายหน้าหรือ
ตัวแทนโดยที่ไม่ใส่ใจในรายละเอียด
3. การทำงานของผู้ประเมินวินาศภัย
ก่อน พ.ศ. 2551 ผู้ประเมินวินาศภัยยังไม่มีกฎหมายบังคับ จนกระทั่งมีการตราพระราชบัญญัติ
ประกนวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพมเติม ด้วยการบัญญัติให้ผู้ประเมินวินาศภัยทั้งหมดขึ้นทะเบียนต่อ
ิ่
ั
สำนกงานคณะกรรมการกำกบและสงเสริมการประกอบธุรกจประกนภัย (คปภ.) ตามคุณสมบัติที่กำหนด โดยให้มี
่
ั
ิ
ั
ั
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพผู้ประเมินวินาศภัยไว้คอยกำกับ ควบคุม ให้ผู้ประเมินวินาศภัยมีฐานะเป็นคนกลางระหว่าง
ผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัย
ผู้ประเมินวินาศภัยเมื่อได้รับการติดต่อเพื่อแต่งตั้งให้เป็นผู้ประเมินวินาศภัยสำหรับวินาศภัยใด ๆ ในขั้นแรก
ผู้ประเมินวินาศภัยต้องตรวจสอบว่าตนสามารถที่จะรับงานประเมินวินาศภัยนั้นได้หรือไม่ โดยต้องตรวจเช็คว่า
ื่
ั
ตนเองได้รับงานจากฝ่ายอนที่ได้ประสบความเสียหายอนเกี่ยวข้องกับวินาศภัยเดียวกันนั้นหรือไม่ หากตรวจสอบ
แล้วพบว่าไม่มการมอบหมายหรือแต่งตั้งซ้ำซ้อน ผู้ประเมินวินาศภัยจะตกลงรับงานการประเมินนั้น แต่หากพบว่ามี
ี
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ