Page 155 - InsuranceHandbook
P. 155

136   คู่มือประกันวินาศภัยไทย
             Thai General Insurance Handbook



                                              ั
                     6.2.2 การประกันภัยต่อตามสญญาแบบไม่เป็นสัดส่วน (Non-Proportional Treaty Reinsurance)
                              ั
                     การประกนภัยต่อตามสัญญาแบบไม่เป็นสัดส่วน หรือการประกนภัยต่อตามสญญาประเภทไมกำหนด
                                                                                                      ่
                                                                                        ั
                                                                            ั
              สัดส่วน (Non-Proportional Treaty Reinsurance หรือเรียกย่อ ๆ ว่า Non-Proportional Treaty) หรือ
                                           ี
                                                  ่
              สัญญาประกันภัยต่อความเสยหายสวนเกิน (Excess of Loss Treaty Reinsurance หรือเรียกย่อ ๆ
              Excess of Loss หรือ XOL) เป็นการประกันภัยต่อซึ่งกำหนดจากจำนวนค่าสินไหมทดแทนเป็นหลัก หากมี
                                                                        ่
              ความเสียหายเกินกว่าจำนวนเงินจำกดความรับผิดที่ผู้เอาประกันภัยตอต้องรับผิดชอบเองแล้ว ผู้รับประกันภัยต่อก็
                                             ั
              จะเข้ามารับผิดชอบชดใช้ค่าสินไหมทดแทนส่วนที่เกินนั้น แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดสูงสุดของ
              ผู้รับประกันภัยต่อที่ได้ตกลงกันไว้ โดยผู้เอาประกันภัยต่อรับเสี่ยงภัยไว้เองส่วนหนึ่งซึ่งเรียกว่า Deductible,
              Priority หรือ Retention ส่วนผู้รับประกันภัยต่อจะเข้ามารับผิดชอบค่าเสียหายส่วนที่เกินจาก Excess Point ของ
                                                                ั
              ผู้เอาประกนภัยต่อขึ้นไปจนเต็มวงเงินสูงสุดที่ผู้รับประกนภัยต่อตกลงรับผิดชอบตามสัญญาประกันภัยต่อ
                        ั
              (Cover Limit) โดยเรียกส่วนที่ผู้รับประกันภัยต่อรับผิดชอบว่า Cover หรือ Security
                        Cover Limit



                                                                        ส่วนที่ผู้รับประกันภัยต่อ
                                                                        รับผิดชอบ
                                                                        (Cover หรือ Security)


                        Excess Point                                    ส่วนที่ผเอาประกันภัยต่อ
                                                                             ู้
                                                                        รับผิดชอบเอง
                                                                        (Deductible, Priority หรือ Retention) )


                       รูปภาพที่ 11-10 การแบ่งความรับผิดชอบระหว่างผู้เอาประกันภัยต่อและผู้รับประกันภัยต่อ
                                      ในกรณีของการประกันภัยต่อแบบไม่เป็นสัดส่วน


                     สำหรับค่าเบี้ยประกันภัยต่อที่ผู้เอาประกันภัยต่อต้องจ่ายให้แก่ผู้รับประกันภัยต่อจะไม่เป็นสัดส่วนกับ

                           ั
              จำนวนเงนจำกดความรับผิดของผู้รับประกันภัยต่อ แต่จะถูกกำหนดโดยผู้รับประกันภัยต่อตั้งแต่ต้น ซึ่งอาจจะม ี
                      ิ
              อัตราที่แตกต่างกันในแต่ละปีตามผลการรับประกนภัยในปีที่ผ่าน ๆ มา และตามลกษณะโครงสร้างของงานที่รับ
                                                                                   ั
                                                        ั
              ประกันภัยไว้
                     Non–Proportional Treaty Reinsurance แบ่งออกได้ 3 แบบหลัก ๆ คือ
                     1) ความคุมครองความเสียหายแบบส่วนเกินช่วงชั้นปกติ (Working Excess of Loss Cover หรือ
                               ้
              Working Cover เรียกย่อ ๆ Working XL) เป็นการประกนภัยต่อความเสยหายแบบส่วนเกินที่ให้ความคุ้มครอง
                                                                             ี
                                                                ั
              ความเสียหายในภัยที่คาดว่าจะเกิดขึ้นบ่อย ๆ ทั้งนี้ ความคุ้มครองช่วงชั้นปกติอาจประกอบด้วยช่วงชั้นปกติหลายชั้น
                                     ่
              (Layer) สัญญาประกันภัยตอแบบ Working Excess of Loss มักจะมีระยะเวลาของสัญญาเพียง 1 ปีเท่านั้น โดย
                                                         ็
                       ั
                ั
              ผู้รบประกนภัยต่อจะเรียกเก็บเบ้ยประกนภัยต่อเปนจำนวนเงินขั้นต่ำ (Minimum and Deposit Premium หรือ
                                                ั
                                          ี
              M&DP) เมื่อตอนเริ่มทำสัญญา ซึ่งอาจแบ่งออกเป็นงวด ๆ ตามแต่จะตกลงกัน เช่น แบ่งเป็น 2 งวด ๆ ละเท่า ๆ กัน
              โดยชำระงวดแรกวันที่ 1 มกราคม และงวดที่ 2 วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นต้น
                                                                                                           ั
                                                                                                     ี
                     ภายใต้ Working Excess of Loss Treaty ส่วนใหญ่จะมีวงเงินการคุ้มครองไม่สูงนัก ซึ่งจะเพยงพอกบ
              การประมาณการหรือการคาดคะเนของผู้เอาประกันภัยต่อ โดยเป็นสัญญาประกันภัยต่อที่เน้นเฉพาะการประกันภัย
              แต่ละประเภท เช่น Fire Excess of Loss Treaty, Personal Accident Excess of Loss Treaty, Marine Cargo
              Excess of Loss Treaty และ Motor Excess of Loss Treaty เป็นต้น


                                                        ั
                                       ์
                                                    ิ
                                                  ั
                                       ิ
                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                      ิ
                                                             ้
                                                               ํ
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160