Page 157 - InsuranceHandbook
P. 157
138 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
Deductible ของ First Layer เอง ขณะที่ผู้รับประกันภัยต่อจะรับผิดชอบค่าเสียหายส่วนที่เกินจากนั้นจนเต็มวงเงิน
ที่ได้ตกลงกันไว้ในแต่ละช่วงชั้นความรับผิด (Layer)
ั
ตัวอย่าง กรณีเกิดมหาอุทกภัยในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2554 ผู้รับประกันภัยที่ได้จัดทำสัญญาประกนภัย
ต่อทรัพย์สินคุ้มครองความเสียหายส่วนเกินแบบมหันตภัย (Property Catastrophe Excess of Loss
ั
Reinsurance Contract) สามารถเรียกร้องค่าเสียหายส่วนเกินสำหรับทรัพย์สินอนเนื่องมาจากอทกภัยที่เกิดขึ้นได้
ุ
ไม่เกินวงเงินความคุ้มครองที่ได้ซื้อจากผู้รับประกันภัยต่อไว้
่
ึ
3) การประกนภัยต่อแบบกำหนดค่าเสียหาย (Stop Loss Reinsurance) เป็นการประกนภัยต่อซงใช้
ั
ั
ควบคุมอตราส่วนความเสียหายของผู้เอาประกันภัยต่อที่อาจจะมีความผันผวนอย่างมากสำหรับผลการรับประกันภัย
ั
บางอย่างในปีหนึ่งปีใด และเพอเป็นการป้องกันความเสียหายของผู้เอาประกันภัยต่อจากการรับประกนภัยประเภท
ื่
ั
หนึ่งประเภทใดเกินขอบเขตที่กำหนดไว้ในปีหนึ่งปีใด โดยม 2 รูปแบบ คือ
ี
ั
3.1) แบบอตราส่วนค่าเสียหายส่วนเกิน (Excess of Loss Ratio)
ผู้รับประกันภัยตอจะชดใช้ค่าเสียหายให้ผู้เอาประกันภัยต่อเมื่อมีอตราส่วนค่าเสียหาย หรืออัตราส่วน
่
ั
่
่
ิ
ี
ั
ค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) เกนกว่าอตราทกำหนดไว้ โดยจายให้ตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยผู้รับประกันภัยต่อ
่
ั
ั
จะรับผิดเมออัตราส่วนค่าเสียหายต่อปี (Annual Loss Ratio) ของผู้เอาประกนภัยต่อเกินกว่าอตราร้อยละที่ได้
ื
กำหนดไว้ ไปจนถึงอัตราหนึ่งซึ่งเป็นความรับผิดชอบสูงสุดของผู้รับประกันภัยต่อ
ั
ี
่
่
ตัวอย่าง ในสัญญาประกนภัยตอแบบกำหนดคาเสยหายสำหรับการรับประกันภัยลูกเห็บ (Stop Loss For
Hail Reinsurance) ได้กำหนดว่า “Cover of 50% in excess of an annual loss ratio of 90%” ในสัญญา
ประกันภัยต่อแบบนี้จะหมายถึงว่า
่
้
(1) ถาอตราสวนค่าเสียหายต่อปีไม่เกิน 90% ผู้เอาประกันภัยต่อจะต้องรับผิดชอบค่าเสียหายที่
ั
เกิดขึ้นเองทั้งหมด
(2) ถ้าอัตราส่วนค่าเสียหายต่อปีเกน 90% แต่ไม่เกิน 140% ผู้รับประกันภัยตอจะเป็นผู้รับผิดชอบ
่
ิ
ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ให้แกผู้เอาประกันภัยต่อ
่
่
(3) ถาหากอตราสวนค่าเสียหายต่อปีเกิน 140% แล้ว ผู้เอาประกันภัยต่อจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
้
ั
ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นเองทั้งหมด
3.2) แบบวงเงินจำกัดความรับผิดรวม (Aggregate Excess of Loss)
นอกเหนือจากการควบคุมความเสียหายในแบบของอัตราสวนความเสียหายต่อปี (Annual Loss
่
Ratio) ที่ได้อธิบายข้างต้น ผู้เอาประกนภัยตอยังสามารถควบคุมความเสียหายในรูปของวงเงินจำกัดความรับผิดรวม
ั
่
ต่อปี โดยสามารถจะกำหนดเงื่อนไขของสัญญาฯ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
To pay up to THB 500,000,000 in the aggregate of all losses falling under the 202X
underwriting year excess of THB 750,000,000 in the aggregate of all losses falling under the 202X
underwriting year.
ั
่
่
ึ
ซงหมายถึงว่า ผู้เอาประกนภัยตอจะได้รับการคุ้มครองเมื่อความเสียหายทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน
ปีรับประกันภัย202X เกิน 750 ล้านบาท ผู้รับประกันภัยต่อจะชดใช้ค่าเสียหายสำหรับการประกันภัยนั้นภายใน
วงเงิน 500 ล้านบาทถัดไป โดยผู้เอาประกันภัยต่อต้องรับผิดชอบเองอีกหากมีค่าเสยหายรวมในปีรับประกันภัย
ี
202X เกินกว่า 1,250 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม การประกันภัยต่อแบบกำหนดคาเสยหายทั้ง 2 แบบนี้ ยังไมเป็นที่แพรหลายในประเทศไทย
่
่
่
ี
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ