Page 158 - InsuranceHandbook
P. 158
บทที่ 11 การประกันภัยต่อ 139
่
Deductible ของ First Layer เอง ขณะที่ผู้รับประกันภัยต่อจะรับผิดชอบค่าเสียหายส่วนที่เกินจากนั้นจนเต็มวงเงิน นอกเหนือจากสัญญาประกันภัยตอแบบไม่เป็นสัดส่วนที่ได้อธิบายข้างต้น ยังมีสัญญาประกันภัยต่อแบบไม ่
ที่ได้ตกลงกันไว้ในแต่ละช่วงชั้นความรับผิด (Layer) เป็นสัดส่วนแบบใหม่อีก 2 แบบ คือ
ตัวอย่าง กรณีเกิดมหาอุทกภัยในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2554 ผู้รับประกันภัยที่ได้จัดทำสัญญาประกนภัย 1. การประกันภัยต่อคุ้มครองความเสียหายส่วนเกินหลายประเภท (Whole Account Excess of Loss)
ั
ั
ต่อทรัพย์สินคุ้มครองความเสียหายส่วนเกินแบบมหันตภัย (Property Catastrophe Excess of Loss เป็นสัญญาประกันภัยต่อที่คุ้มครองความเสียหายส่วนเกินสำหรับการประกันภัยหลายประเภทของผู้เอาประกนภัย
ั
ุ
Reinsurance Contract) สามารถเรียกร้องค่าเสียหายส่วนเกินสำหรับทรัพย์สินอนเนื่องมาจากอทกภัยที่เกิดขึ้นได้ ต่อภายใต้สัญญาเดียวกัน เช่น Whole Account Excess of Loss for Non-Motor สำหรบงานประกันภัยทุก
ั
ไม่เกินวงเงินความคุ้มครองที่ได้ซื้อจากผู้รับประกันภัยต่อไว้ ประเภทของผู้รับประกันภัยยกเว้นงานประกันภัยรถยนต์เท่านั้น
่
3) การประกนภัยต่อแบบกำหนดค่าเสียหาย (Stop Loss Reinsurance) เป็นการประกนภัยต่อซงใช้ 2. การประกันภัยต่อคุ้มครองความเสียหายส่วนเกินแบบหลายปี (Multi Year Excess of Loss ) ใน
ั
ั
ึ
ี
่
ควบคุมอตราส่วนความเสียหายของผู้เอาประกันภัยต่อที่อาจจะมีความผันผวนอย่างมากสำหรับผลการรับประกันภัย สัญญาประกันภัยตอคุ้มครองความเสียหายส่วนเกินแบบหลายปีนี้ จะมระยะเวลาของสัญญาประกันภัยต่อมากกว่า
ั
่
บางอย่างในปีหนึ่งปีใด และเพอเป็นการป้องกันความเสียหายของผู้เอาประกันภัยต่อจากการรับประกนภัยประเภท 1 ปี เพือคุ้มครองความเสียหายแบบส่วนเกินในภัยที่คาดว่าจะเกิดขึ้นบ่อยและมีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
ั
ื่
ี
หนึ่งประเภทใดเกินขอบเขตที่กำหนดไว้ในปีหนึ่งปีใด โดยม 2 รูปแบบ คือ บ่อยครั้ง (Working Excess of Loss) ในปัจจุบันจะมระยะเวลาของสัญญาประกันภัยต่อคราวละ 3 ปี ซึ่งเป็น
ี
ี
ั
่
่
ั
ั
3.1) แบบอตราส่วนค่าเสียหายส่วนเกิน (Excess of Loss Ratio) ประโยชน์แก่ผู้เอาประกนภัยต่อในกรณีทคาดว่าอัตราเบี้ยประกันภัยต่อมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยผู้รับประกนภัยตอให้
่
ั
ผู้รับประกันภัยตอจะชดใช้ค่าเสียหายให้ผู้เอาประกันภัยต่อเมื่อมีอตราส่วนค่าเสียหาย หรืออัตราส่วน สิทธิ์ผู้เอาประกันภัยต่อในการขอยกเลิกสัญญาได้ก่อนครบกำหนด 3 ปี ด้วย
่
ั
ิ
่
ี
ค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) เกนกว่าอตราทกำหนดไว้ โดยจายให้ตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยผู้รับประกันภัยต่อ
จะรับผิดเมออัตราส่วนค่าเสียหายต่อปี (Annual Loss Ratio) ของผู้เอาประกนภัยต่อเกินกว่าอตราร้อยละที่ได้ 7. ตลาดประกันภัยต่อ
ั
ั
่
ื
กำหนดไว้ ไปจนถึงอัตราหนึ่งซึ่งเป็นความรับผิดชอบสูงสุดของผู้รับประกันภัยต่อ ในการเอาประกันภัยต่อไม่ว่าจะเป็นในรูปของการประกันภัยต่อเฉพาะราย (Facultative Reinsurance)
ี
่
่
ั
ตัวอย่าง ในสัญญาประกนภัยตอแบบกำหนดคาเสยหายสำหรับการรับประกันภัยลูกเห็บ (Stop Loss For หรือ สัญญาประกันภัยต่ออัตโนมัติ (Treaty Reinsurance) นั้น ผู้เอาประกันภัยต่อสามารถจะกระทำได้ 2 ช่องทาง
Hail Reinsurance) ได้กำหนดว่า “Cover of 50% in excess of an annual loss ratio of 90%” ในสัญญา คือ
ประกันภัยต่อแบบนี้จะหมายถึงว่า 7.1 การติดต่อโดยตรงจากผู้เอาประกันภัยต่อไปยังผู้รับประกันภัยต่อ โดยไม่ผ่านคนกลาง โดย
้
(1) ถาอตราสวนค่าเสียหายต่อปีไม่เกิน 90% ผู้เอาประกันภัยต่อจะต้องรับผิดชอบค่าเสียหายที่ ผู้รับประกันภัยต่ออาจจะเป็นผู้รับประกันภัยภายในประเทศไทยซึ่งมีแผนกหรือฝ่ายรับประกันภัยต่อ หรือผู้รับ
ั
่
ั
่
ึ
เกิดขึ้นเองทั้งหมด ประกันภัยต่อในต่างประเทศซงส่วนมากจะตั้งอยู่ในองกฤษ สวิตเซอร์แลนด์ เยอรมนี ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา
่
ึ
์
่
่
ั
ั
ั
ิ
(2) ถ้าอัตราส่วนค่าเสียหายต่อปีเกน 90% แต่ไม่เกิน 140% ผู้รับประกันภัยตอจะเป็นผู้รับผิดชอบ สาธารณรฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น รวมทั้งสิงคโปร และฮองกง ซงเป็นที่ต้งของสำนกงานสาขา หรือสำนักงานภูมิภาค
่
ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ให้แกผู้เอาประกันภัยต่อ ของผู้รับประกันภัยต่อขนาดใหญ่จำนวนหลายราย
(3) ถาหากอตราสวนค่าเสียหายต่อปีเกิน 140% แล้ว ผู้เอาประกันภัยต่อจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
่
ั
้
ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นเองทั้งหมด ะกันภัยต่อ ผรับประกันภัยต่อ
ู้
3.2) แบบวงเงินจำกัดความรับผิดรวม (Aggregate Excess of Loss) ผู้เอาประกันภัยต่อ ปร ประกันภัยต่อ [Reinsurer]
่
นอกเหนือจากการควบคุมความเสียหายในแบบของอัตราสวนความเสียหายต่อปี (Annual Loss [Reinsured] [ [R Re ei in ns su ur ra an nc ce e]
่
Ratio) ที่ได้อธิบายข้างต้น ผู้เอาประกนภัยตอยังสามารถควบคุมความเสียหายในรูปของวงเงินจำกัดความรับผิดรวม
ั
ต่อปี โดยสามารถจะกำหนดเงื่อนไขของสัญญาฯ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ รูปภาพที่ 11-11 การติดต่อโดยตรง
To pay up to THB 500,000,000 in the aggregate of all losses falling under the 202X
underwriting year excess of THB 750,000,000 in the aggregate of all losses falling under the 202X 7.2 การติดต่อจากผู้เอาประกันภัยต่อไปยังผู้รับประกันภัยต่อ โดยผ่านคนกลางที่เรียกว่า นายหน้า
underwriting year. ประกันภัยต่อ (Reinsurance Broker) ซึ่งอาจจะเป็นบรษทนายหน้าประกันภัยต่อที่ตั้งอยู่ภายในประเทศ หรอ
ั
ิ
ื
ซงหมายถึงว่า ผู้เอาประกนภัยตอจะได้รับการคุ้มครองเมื่อความเสียหายทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน บริษัทนายหน้าประกันภัยต่อที่ตั้งอยู่ในต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ ฮ่องกง อังกฤษ เป็นต้น
ั
ึ
่
่
ปีรับประกันภัย202X เกิน 750 ล้านบาท ผู้รับประกันภัยต่อจะชดใช้ค่าเสียหายสำหรับการประกันภัยนั้นภายใน
ี
วงเงิน 500 ล้านบาทถัดไป โดยผู้เอาประกันภัยต่อต้องรับผิดชอบเองอีกหากมีค่าเสยหายรวมในปีรับประกันภัย
ู้
202X เกินกว่า 1,250 ล้านบาท ผู้เอาประกันภัยต่อ นายหน้าประกันภัยต่อ ผรับประกันภัยต่อ
่
อย่างไรก็ตาม การประกันภัยต่อแบบกำหนดคาเสยหายทั้ง 2 แบบนี้ ยังไมเป็นที่แพรหลายในประเทศไทย [Reinsured] [Reinsurance Broker] [Reinsurer]
่
่
ี
รูปภาพที่ 11-12 การติดต่อผ่านคนกลาง
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ