Page 156 - InsuranceHandbook
P. 156

บทที่ 11 การประกันภัยต่อ  137





                                                ้
                                                  ี
                                                         ั
                                       ั
 ั
 6.2.2 การประกันภัยต่อตามสญญาแบบไม่เป็นสัดส่วน (Non-Proportional Treaty Reinsurance)   ตัวอย่าง บริษัทประกนภัย ก. ไดมการทำสญญาประกันภัยต่อความเสียหายส่วนเกินสำหรับการประกันภัย
                                                                                                    ั
 ่
 ั
 ั
 ั
 การประกนภัยต่อตามสัญญาแบบไม่เป็นสัดส่วน หรือการประกนภัยต่อตามสญญาประเภทไมกำหนด  รถยนต์ (Motor Excess of Loss Treaty) ไว้กับผู้รับประกันภัยต่อ A โดยกำหนดวงเงินที่ผู้เอาประกนภัยต่อจะ
                                                                        ั
                                              ุ
                                                                                     ุ
                                                                                                ั
 สัดส่วน (Non-Proportional Treaty Reinsurance หรือเรียกย่อ ๆ ว่า Non-Proportional Treaty) หรือ      รับผิดชอบเอง = 1,000,000 บาทต่ออบัติเหตุแต่ละครั้ง ซึ่งผู้รับประกนภัยต่อให้การค้มครองตามสญญานี้ในวงเงิน
 ่
 สัญญาประกันภัยต่อความเสยหายสวนเกิน (Excess of Loss Treaty Reinsurance หรือเรียกย่อ ๆ   10,000,000 บาท ต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง และ 20,000,000 บาท ตลอดระยะเวลาของสัญญาประกันภัยต่อนี้
 ี
 Excess of Loss หรือ XOL) เป็นการประกันภัยต่อซึ่งกำหนดจากจำนวนค่าสินไหมทดแทนเป็นหลัก หากมี      หากมีความเสียหายเกิดขึ้นในระหว่างระยะเวลาประกันภัย 4 ครั้ง โดยมีความเสียหายครั้งที่ 1 เป็นเงิน
 ความเสียหายเกินกว่าจำนวนเงินจำกดความรับผิดที่ผู้เอาประกันภัยตอต้องรับผิดชอบเองแล้ว ผู้รับประกันภัยต่อก็  500,000 บาท ครั้งที่ 2 เป็นเงิน 1,000,000 บาท ครั้งที่ 3 เป็นเงิน 2,500,000 บาท ครั้งที่ 4 เป็นเงิน 12,000,000
 ั
 ่
 จะเข้ามารับผิดชอบชดใช้ค่าสินไหมทดแทนส่วนที่เกินนั้น แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินจำนวนเงินจำกัดความรับผิดสูงสุดของ  บาท ผู้เอาประกันภัยต่อและผู้รับประกันภัยต่อจะร่วมกันชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง ดังนี้
 ผู้รับประกันภัยต่อที่ได้ตกลงกันไว้ โดยผู้เอาประกันภัยต่อรับเสี่ยงภัยไว้เองส่วนหนึ่งซึ่งเรียกว่า Deductible,
 Priority หรือ Retention ส่วนผู้รับประกันภัยต่อจะเข้ามารับผิดชอบค่าเสียหายส่วนที่เกินจาก Excess Point ของ  ตารางที่ 11-3  การแบ่งค่าสินไหมทดแทนของ Working Excess of Loss Cover
 ั
 ผู้เอาประกนภัยต่อขึ้นไปจนเต็มวงเงินสูงสุดที่ผู้รับประกนภัยต่อตกลงรับผิดชอบตามสัญญาประกันภัยต่อ   หน่วย: บาท
 ั
 (Cover Limit) โดยเรียกส่วนที่ผู้รับประกันภัยต่อรับผิดชอบว่า Cover หรือ Security   ส่วนที่ผู้เอาประกันภัย ส่วนที่ผู้รับประกันภัยต่อ  ส่วนที่ผู้เอาประกันภัย
 Cover Limit        ครั้งที่   ค่าสินไหมทดแทน   ต่อรับผิดชอบเอง        รับผิดชอบ        ต่อรับผิดชอบเพิ่มเติม
                     1             500,000              500,000                     -                   -
 ส่วนที่ผู้รับประกันภัยต่อ
 รับผิดชอบ           2            1,000,000            1,000,000                    -                   -
 (Cover หรือ Security)   3        2,500,000            1,000,000            1,500,000                   -
                     4          12,000,000             1,000,000           10,000,000           1,000,000
 Excess Point   ส่วนที่ผเอาประกันภัยต่อ
 ู้
 รับผิดชอบเอง         สำหรับค่าสินไหมทดแทนครั้งที่ 4 จำนวน 12,000,000 บาท ซึ่งอาจจะเป็นกรณีของรถยนต์ที่รับประกันภัย
 (Deductible, Priority หรือ Retention) )
                        ุ
              ไว้ประสบอบัติเหตุอย่างรุนแรงจนเสียหายสิ้นเชิงและมีทรัพย์สินของบุคคลภายนอกเสียหายเป็นจำนวนมากด้วย จะ
              เห็นได้ว่าผู้เอาประกันภัยต่อต้องรับผิดชอบเอง 2 ครั้ง รวมเป็นเงิน 2,000,000 บาท โดยครั้งแรกรับผิดชอบเองตาม
 รูปภาพที่ 11-10 การแบ่งความรับผิดชอบระหว่างผู้เอาประกันภัยต่อและผู้รับประกันภัยต่อ   สญญาที่ได้ทำไว้ในวงเงิน 1,000,000 บาท และยังต้องรับผิดชอบเพมเติมอก 1,000,000 บาท เนื่องจาก
                                                                                   ี
                                                                            ิ่
                ั
 ในกรณีของการประกันภัยต่อแบบไม่เป็นสัดส่วน   ผู้รับประกันภัยต่อได้รับผิดชอบเต็มวงเงินที่ให้การคมครองตามสัญญานี้จำนวน 10,000,000 บาท ต่ออุบติเหตุแต่ละ
                                                                                                    ั
                                                        ุ้
              ครั้งไปแล้ว และปรากฏว่าวงเงินที่ผู้เอาประกันภัยต่อได้รับการคุ้มครองต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้งยังไมพอ
                                                                                              ่
 สำหรับค่าเบี้ยประกันภัยต่อที่ผู้เอาประกันภัยต่อต้องจ่ายให้แก่ผู้รับประกันภัยต่อจะไม่เป็นสัดส่วนกับ
 จำนวนเงนจำกดความรับผิดของผู้รับประกันภัยต่อ แต่จะถูกกำหนดโดยผู้รับประกันภัยต่อตั้งแต่ต้น ซึ่งอาจจะม ี  2) ความคุ้มครองความเสยหายสวนเกนแบบมหันตภัย (Catastrophe Excess of Loss Cover หรือ
 ั
 ิ
                                                       ิ
                                            ี
                                                  ่
 ั
 อัตราที่แตกต่างกันในแต่ละปีตามผลการรับประกนภัยในปีที่ผ่าน ๆ มา และตามลกษณะโครงสร้างของงานที่รับ  เรียกย่อ ๆ CAT XL) เป็นการประกนภัยต่อความเสียหายส่วนเกิน เพือคุ้มครองผู้เอาประกนภัยตอจากมหนตภัย
 ั
                                                                                                        ั
                                             ั
                                                                                           ั
                                                                         ่
                                                                                                ่
 ประกันภัยไว้   ครั้งใดครั้งหนึ่งซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นบ่อย แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีความเสยหายจำนวนมากจากการที่มีผู้เอาประกันภัย
                                                                       ี
 Non–Proportional Treaty Reinsurance แบ่งออกได้ 3 แบบหลัก ๆ คือ   จำนวนมากรายได้รบความเสียหายพร้อม ๆ กันจากมหันตภัยนั้น เช่น ภัยแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ มหาอทกภัย
                               ั
                                                                                                       ุ
 1) ความคุมครองความเสียหายแบบส่วนเกินช่วงชั้นปกติ (Working Excess of Loss Cover หรือ
 ้
 ี
 ั
 Working Cover เรียกย่อ ๆ Working XL) เป็นการประกนภัยต่อความเสยหายแบบส่วนเกินที่ให้ความคุ้มครอง  ภัยจากพายุใต้ฝุ่น พายุโซนร้อน เป็นต้น
                      Catastrophe Excess of Loss Treaty จึงเป็นสัญญาประกันภัยต่อสำหรับคุ้มครองความเสียหายส่วนเกิน
 ความเสียหายในภัยที่คาดว่าจะเกิดขึ้นบ่อย ๆ ทั้งนี้ ความคุ้มครองช่วงชั้นปกติอาจประกอบด้วยช่วงชั้นปกติหลายชั้น   ของผู้เอาประกนภัยตอจากการสะสมของภัย (Risk Accumulation) ในกรณีที่มีเหตุการณ์ที่เป็นมหันตภัย เช่น นำ
                           ั
                                                                                                            ้
                                ่
 ่
 (Layer) สัญญาประกันภัยตอแบบ Working Excess of Loss มักจะมีระยะเวลาของสัญญาเพียง 1 ปีเท่านั้น โดย  ท่วม แผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ พายุไซโคลน ซึ่งทำความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตของผู้คนที่อยู่ในหลาย ๆ จังหวัด
 ผู้รบประกนภัยต่อจะเรียกเก็บเบ้ยประกนภัยต่อเปนจำนวนเงินขั้นต่ำ (Minimum and Deposit Premium หรือ   ของประเทศไดพร้อม ๆ กนในเวลาไม่กี่นาที หรือไม่กี่ชั่วโมง ในกรณีที่มีทรัพย์สินที่เอาประกนภัยไว้กบผู้รับ
 ั
 ั
 ั
 ็
 ี
                                                                                                ั
                                     ั
                                                                                                        ั
                            ้
 M&DP) เมื่อตอนเริ่มทำสัญญา ซึ่งอาจแบ่งออกเป็นงวด ๆ ตามแต่จะตกลงกัน เช่น แบ่งเป็น 2 งวด ๆ ละเท่า ๆ กัน   ประกนภัยได้รับความเสียหายพร้อม ๆ กันจากเหตุการณ์นั้น เมื่อรวมค่าเสียหายที่เกิดขนเข้าด้วยกันแล้วจะมีจำนวน
                                                                                      ึ้
                   ั
 โดยชำระงวดแรกวันที่ 1 มกราคม และงวดที่ 2 วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นต้น    เงินที่สูงมาก จึงมีความจำเป็นที่ผู้เอาประกันภัยต่อจะต้องจัดทำ Catastrophe Excess of Loss Treaty ไว้ใช้ใน
 ี
 ั
 ภายใต้ Working Excess of Loss Treaty ส่วนใหญ่จะมีวงเงินการคุ้มครองไม่สูงนัก ซึ่งจะเพยงพอกบ    กรณีที่เกิดมหันตภัย (Catastrophe Loss) ซงมีความถี่ของความเสียหายค่อนข้างต่ำ แต่มีขนาดของความเสียหาย
                                                    ึ
                                                    ่
 การประมาณการหรือการคาดคะเนของผู้เอาประกันภัยต่อ โดยเป็นสัญญาประกันภัยต่อที่เน้นเฉพาะการประกันภัย  เป็นจำนวนเงินที่ค่อนข้างสูงมาก (Low Loss Frequency, Very High Loss Severity) โดยจัดทำสัญญาประกันภัย
 แต่ละประเภท เช่น Fire Excess of Loss Treaty, Personal Accident Excess of Loss Treaty, Marine Cargo   ต่อแบบนี้หลายช่วงชั้นความรับผิด (Layer) โดยผู้เอาประกันภัยต่อจะรับผิดชอบค่าเสียหายในส่วนที่เป็น
 Excess of Loss Treaty และ Motor Excess of Loss Treaty เป็นต้น
                                       ์
                                       ิ
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161