Page 214 - InsuranceHandbook
P. 214

บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย    195


 2. การประกันภัยรถยนต์ (Motor Insurance)   ตารางที่ 18.1 ความคุ้มครองการประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (พ.ร.บ.)

 คำว่าการประกันภัยรถยนต ในประเทศอังกฤษตลอดจนประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป และเอเชียส่วนใหญ
 ์
 ่
 จะเรียกว่า Motor Insurance ส่วนในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญี่ปุ่นจะเรียกว่า Automobile Insurance   ค่าเสียหายเบื้องต้น บริษัทจะจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัยที่ได้รับความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย โดยไม่
 การประกันภัยรถยนต์มี 2 ประเภทหลัก คือ     ต้องรอการพิสูจน์ความรับผิดให้เสร็จสิ้นภายใน 7 วันนับแต่วันที่บริษัทได้รับการร้องขอ โดยจ่ายเป็นค่าเสียหาย

 2.1  การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance)   เบื้องต้นดังต่อไปนี้
 2.2  การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ (Voluntary Motor Insurance)
                                   ความคุ้มครอง                           จำนวนเงินความคุ้มครองต่อหนึ่งคน

 แบบของกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีดังต่อไปนี้        ค่าเสียหายเบื้องต้น   ความคุ้มครองสูงสุด
 1)  กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ   ความเสียหายต่อร่างกายหรืออนามัย (ตามความเสียหายที่แท้จริง)  ไม่เกิน 30,000 บาท   80,000 บาท
 2)  กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์   ทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง (ไม่สามารถประกอบหน้าที่การงานใด ๆ   35,000 บาท   500,000 บาท
 3)  กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คุ้มครองความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก   ในอาชีพประจำ และอาชีพอื่น ๆ ได้โดยสิ้นเชิงตลอดไป)

 4)  กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์แบบคุ้มครองเฉพาะภัย   สูญเสียมือสองข้างตั้งแต่ข้อมือ หรือแขนสองข้าง หรือเท้าสองข้าง   35,000 บาท   500,000 บาท
 5)  กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ รวมการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ   ตั้งแต่ข้อเท้า หรือขาสองข้าง หรือสายตาสองข้าง (ตาบอด)
 6)  กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คุ้มครองความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก รวมการคุ้มครอง  กรณีสูญเสียมือหนึ่งข้างตั้งแต่ข้อมือ แขนหนึ่งข้าง เท้าหนึ่งข้าง   35,000 บาท   500,000 บาท
 ผู้ประสบภัยจากรถ   ตั้งแต่ข้อเท้า ขาหนึ่งข้าง สายตาหนึ่งข้าง (ตาบอด) ตั้งแต่ 2 กรณ ี

 7)  กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์แบบคุ้มครองเฉพาะภัย รวมการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ   ขึ้นไป
 ์
 ั
 แบบกรมธรรมประกันภัยที่ 1) ใช้สำหรับการคุ้มครองเฉพาะการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคบ                 ทุพพลภาพอย่างถาวร (ไม่สามารถประกอบอาชีพประจำได้)   35,000 บาท   300,000 บาท
 ์
 แบบกรมธรรมประกันภัยที่ 2) 3) 4) ใช้สำหรับการคุ้มครองเฉพาะการประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ ส่วนแบบ  สูญเสียมือหนึ่งข้างตั้งแต่ข้อมือ หรือแขนหนึ่งข้าง หรือเท้าหนึ่งข้าง  35,000 บาท   250,000 บาท
 กรมธรรมประกันภัยที่ 5) 6) 7) ใช้สำหรับการคุ้มครองทั้งการประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ และการประกันภัย  ตั้งแต่ข้อเทา หรือขาหนึ่งข้าง หรือสายตาหน่งข้าง (ตาบอด) กรณ ี
 ์
                                                  ึ
                       ้
 รถยนต์ภาคบังคับในกรมธรรม์ประกันภัยฉบับเดียว   ใดกรณีหนึ่ง
             หูหนวก เป็นใบ้ หรือเสียความสามารถในการพูด หรือลนขาด          35,000 บาท          250,000 บาท
                                                              ้
                                                              ิ
 2.1  การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance)    สูญเสียอวัยวะสืบพันธุ หรือความสามารถสืบพันธุ จิตพิการอย่าง
                                ์
                                                       ์
 เป็นการประกันภัยที่เจ้าของรถแต่ละคันต้องจัดให้มีประกันภัยตามความคุ้มครองที่กำหนดไว้ใน  ติดตัว (โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือนอย่างติดตัว)
 ิ่
 ี่
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 และทแก้ไขเพมเติม โดยมีแบบกรมธรรม์ประกันภัยที่ใช้ คือ   สูญเสียอวัยวะอื่นใดที่กระทบต่อการดำรงชีวิตอย่างปกติสุขของ  35,000 บาท   250,000 บาท
 การประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (Insurance Protection for Motor Vehicle Victims) หรือที่  ผู้ประสบภัย เช่น การสูญเสียม้าม ปอด ตับ ไต ฟันแท้ทั้งซี่ตั้งแต
                                                                    ่
 ี
 เรียกกันสั้น ๆ ว่า “การประกันภัย พ.ร.บ.” ซึ่งกำหนดให้เจ้าของรถซึ่งใช้รถ หรือมีรถไว้เพื่อใช้ต้องจัดให้ม            5 ซี่ขึ้นไป หรือกรณีกะโหลกศีรษะถูกทำให้เสียหาย เป็นเหตุให ้
 การประกันภัย พ.ร.บ. (เว้นแต่รถที่ พ.ร.บ.ฯ ระบุยกเว้นไว้ เช่น รถของสำนักพระราชวัง รถสำหรับเฉพาะองค ์  ต้องใช้กะโหลกเทียม เป็นต้น
 พระมหากษัตริย์ รถของกระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น) มิเช่นนั้นจะมีโทษตามกฎหมาย การประกันภัยรถยนต      สูญเสียนิ้วตั้งแต่ข้อนิ้วขึ้นไป ไม่ว่านิ้วเดียวหรือหลายนิ้ว   35,000 บาท   200,000 บาท
 ์
 ี่
 ภาคบังคับนี้มีวัตถุประสงค์เพอให้ผู้ประสบภัยจากรถทุกคน เมื่อประสบภัยจากรถทใช้ หรืออยู่ในทาง หรือเนื่องจาก  กรณีเสียชีวิต   35,000 บาท   500,000 บาท
 ื่
 สิ่งที่บรรทุก หรือติดตั้งในรถนั้น ส่งผลให้ได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย ได้รับการชดใช้และเยียวยา       ค่าชดเชยรายวันกรณีเข้ารักษาตัวเป็นผู้ป่วยในจ่ายตามวันที่รักษา     วันละ 200 บาท
 ความสูญเสีย หรือเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น   จริง                                                ไม่เกิน 20 วัน
 ในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้น ผู้ประสบภัยจะได้รับค่าเสียหายเบื้องต้นโดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความผิดสำหรับ
 เป็นค่ารักษาพยาบาลกรณีบาดเจ็บ และเป็นค่าปลงศพในกรณีเสียชีวิต โดยบริษัทประกันภัยจะชดใช้ให้แก ่  หมายเหตุ:  1.  กรณีที่ผู้ขับขี่รถเป็นฝ่ายผิด หรือไม่มีคู่กรณี จะให้ความคุ้มครองเฉพาะค่าเสียหายเบื้องต้น
 ผู้ประสบภัย ทายาทของผู้ประสบภัย ภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอค่าเสียหายดังกล่าว และยังมีสิทธิ์ได้รับ      เป็นค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 30,000 บาท หรือกรณีสูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพถาวร

 ชดเชยค่าเสียหายสวนที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้นอีก ภายหลังจากที่ผู้ประสบภัยได้รับการพิสูจน์แลวว่าไม่ได้เปน      หรือเสียชีวิต 35,000 บาท หรือรวมทุกกรณีแล้วไม่เกิน 65,000 บาทเท่านั้น
 ่
 ็
 ้
 ฝ่ายที่จะต้องรับผิดตามกฎหมาย โดยมีวงเงินคุ้มครองรวมกับค่าเสียหายเบื้องต้นตามตัวอย่างตารางความคุ้มครอง     2.  กรณีมีคู่กรณีและคู่กรณีเป็นฝ่ายผิด ผู้ขับขี่เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนที่เกินส่วนเกินจาก
 การประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (พ.ร.บ.) ซึ่งเริ่มใช้วันที่ 1 เมษายน 2563 (โปรดอ้างอิงความคุ้มครองและ    ค่าเสียหายเบื้องต้น ตามวงเงินความคุ้มครองจากบริษัทประกันภัยที่รับประกันภัยรถคู่กรณี
 วงเงินคุ้มครองที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ประสบภัย)      3.  ความคุ้มครองสูงสุดต่อรายไม่เกิน 504,000 บาท


    การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของรถซึ่งจะต้องจัดให้มีการประกันภัย พ.ร.บ.


                                                               ํ
                                                             ้
                                                        ั
                                      ิ
                                    ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                       ิ
                                                    ิ
                                                  ั
                                       ์
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219