Page 213 - InsuranceHandbook
P. 213
194 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
2. การประกันภัยรถยนต์ (Motor Insurance)
คำว่าการประกันภัยรถยนต ในประเทศอังกฤษตลอดจนประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป และเอเชียส่วนใหญ
่
์
จะเรียกว่า Motor Insurance ส่วนในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญี่ปุ่นจะเรียกว่า Automobile Insurance
การประกันภัยรถยนต์มี 2 ประเภทหลัก คือ
2.1 การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance)
2.2 การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ (Voluntary Motor Insurance)
แบบของกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีดังต่อไปนี้
1) กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
2) กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์
3) กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คุ้มครองความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก
4) กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์แบบคุ้มครองเฉพาะภัย
5) กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ รวมการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
6) กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์คุ้มครองความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก รวมการคุ้มครอง
ผู้ประสบภัยจากรถ
7) กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์แบบคุ้มครองเฉพาะภัย รวมการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
์
แบบกรมธรรมประกันภัยที่ 1) ใช้สำหรับการคุ้มครองเฉพาะการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคบ
ั
แบบกรมธรรมประกันภัยที่ 2) 3) 4) ใช้สำหรับการคุ้มครองเฉพาะการประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ ส่วนแบบ
์
์
กรมธรรมประกันภัยที่ 5) 6) 7) ใช้สำหรับการคุ้มครองทั้งการประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ และการประกันภัย
รถยนต์ภาคบังคับในกรมธรรม์ประกันภัยฉบับเดียว
2.1 การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance)
เป็นการประกันภัยที่เจ้าของรถแต่ละคันต้องจัดให้มีประกันภัยตามความคุ้มครองที่กำหนดไว้ใน
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 และทแก้ไขเพมเติม โดยมีแบบกรมธรรม์ประกันภัยที่ใช้ คือ
ิ่
ี่
การประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (Insurance Protection for Motor Vehicle Victims) หรือที่
เรียกกันสั้น ๆ ว่า “การประกันภัย พ.ร.บ.” ซึ่งกำหนดให้เจ้าของรถซึ่งใช้รถ หรือมีรถไว้เพื่อใช้ต้องจัดให้ม
ี
การประกันภัย พ.ร.บ. (เว้นแต่รถที่ พ.ร.บ.ฯ ระบุยกเว้นไว้ เช่น รถของสำนักพระราชวัง รถสำหรับเฉพาะองค ์
พระมหากษัตริย์ รถของกระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น) มิเช่นนั้นจะมีโทษตามกฎหมาย การประกันภัยรถยนต
์
ื่
ี่
ภาคบังคับนี้มีวัตถุประสงค์เพอให้ผู้ประสบภัยจากรถทุกคน เมื่อประสบภัยจากรถทใช้ หรืออยู่ในทาง หรือเนื่องจาก
สิ่งที่บรรทุก หรือติดตั้งในรถนั้น ส่งผลให้ได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย ได้รับการชดใช้และเยียวยา
ความสูญเสีย หรือเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น
ในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้น ผู้ประสบภัยจะได้รับค่าเสียหายเบื้องต้นโดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความผิดสำหรับ
เป็นค่ารักษาพยาบาลกรณีบาดเจ็บ และเป็นค่าปลงศพในกรณีเสียชีวิต โดยบริษัทประกันภัยจะชดใช้ให้แก ่
ผู้ประสบภัย ทายาทของผู้ประสบภัย ภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอค่าเสียหายดังกล่าว และยังมีสิทธิ์ได้รับ
็
้
ชดเชยค่าเสียหายสวนที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้นอีก ภายหลังจากที่ผู้ประสบภัยได้รับการพิสูจน์แลวว่าไม่ได้เปน
่
ฝ่ายที่จะต้องรับผิดตามกฎหมาย โดยมีวงเงินคุ้มครองรวมกับค่าเสียหายเบื้องต้นตามตัวอย่างตารางความคุ้มครอง
การประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (พ.ร.บ.) ซึ่งเริ่มใช้วันที่ 1 เมษายน 2563 (โปรดอ้างอิงความคุ้มครองและ
วงเงินคุ้มครองที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ประสบภัย)
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของรถซึ่งจะต้องจัดให้มีการประกันภัย พ.ร.บ.
ํ
ิ
์
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
ั
้
ั
ิ