Page 211 - InsuranceHandbook
P. 211
192 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
3. การแบ่งประเภทการประกันวินาศภัยตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
ในพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มีการกำหนดประเภทการประกันวินาศภัย
ไว้ 4 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. การประกันอัคคีภัย
2. การประกันภัยรถยนต์
3. การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
4. การประกันภัยประเภทอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ 3 ประเภทข้างต้น (นิยมเรียกว่า การประกันภัยเบ็ดเตล็ด)
์
่
ึ
ั
ซงการประกันภัยแต่ละประเภทมีกฎเกณฑในการกำกับดูแลบางเรื่องที่แตกต่างกน เช่น การวางหลักทรัพย์
การกำหนดค่าบำเหน็จ ค่าความเสี่ยงในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย เป็นต้น
ผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยในประเทศไทย
1. การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance)
การประกันอัคคีภัยเป็นการประกันภัยทรัพย์สินซึ่งให้ความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils Basis)
กล่าวคือ ให้ความคุ้มครองความสูญเสย หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สนที่เอาประกันภัย อันเนื่องมาจากภัยที่ระบุไว้
ี
ิ
เท่านั้น
้
การประกันอคคีภัยยังแบ่งไดอีก 2 ประเภทเพื่อตอบสนองความเสี่ยงของผู้เอาประกันภัยที่แตกต่างกัน คือ การ
ั
ประกันอัคคีภัย และการประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย
1.1 การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance)
ี
เป็นการประกันภัยทให้ความคุ้มครองอาคารและสิ่งปลูกสร้าง (ไม่รวมฐานราก) ที่ใช้เป็นสถานที่ประกอบ
่
กิจการต่าง ๆ เช่น ร้านค้า สำนักงาน โรงภาพยนตร์ ศูนย์การค้า โกดังหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ตลอดจน
ึ
ทรัพย์สินอื่น ๆ ที่เอาประกันภัยไว้ เช่น เฟอร์นิเจอร์ เครื่องตกแต่งติดตั้งตรงตรา อุปกรณ์สำนักงาน เครื่องใช้ไฟฟา
้
สต็อกสินค้า เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้า เป็นต้น โดยคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils Basis) สำหรบ
ั
ความเสียหายจากภัยต่อไปนี้
1) ไฟไหม ้
2) ฟ้าผ่า
3) การระเบิดของแก๊สที่ใช้สำหรับทำแสงสว่างหรือประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยเท่านั้นแต่ไม่รวมถง
ึ
ความเสียหายจากการระเบิดของแก๊สจากแผ่นดินไหว
4) ภัยเพิ่มพิเศษ ที่ได้ระบุไว้ชัดเจนในกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย
ภัยเพิ่มพิเศษซึ่งผู้เอาประกันภัยสามารถขอขยายความคุ้มครองโดยจ่ายเบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม เช่น
ภัยแผ่นดินไหว ภัยน้ำท่วม ภัยเนื่องจากน้ำ ภัยจากลูกเห็บ ภัยลมพายุ ภัยจากการนัดหยุดงาน ภัยจลาจล
ภัยต่อเคร่องไฟฟ้า ภัยระเบิด ภัยอากาศยาน ภัยจากยวดยานพาหนะ ภัยจากควัน ภัยจากการกระทำอย่างป่าเถื่อน
ื
หรือการกระทำอันมีเจตนาร้าย เป็นต้น
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของกิจการ เช่น บริษัท ห้าง ร้าน โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ
1.2 การประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย (Fire Insurance for Dwelling House)
เป็นการประกันภัยทให้ความคุ้มครองทรัพย์สินที่เอาประกันภัยซึ่งเป็นสิ่งปลูกสร้าง (ไม่รวมฐานราก) ที่ใช้
ี
่
เป็นที่อยู่อาศัยเท่านั้น เช่น บ้าน ทาวน์เฮาส์ บ้านแฝด ตึกแถวสำหรับอยู่อาศัย ห้องชุดสำหรับอยู่อาศัยในแฟลต
อาคารชุด คอนโดมิเนียม อาคารย่อย โรงรถ กำแพง รั้ว ประตู เป็นต้น รวมทั้งส่วนปรับปรุงต่อเติม (ยกเว้นฐานราก)
และทรัพย์สินภายในสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ภายในสถานที่เอาประกันภัยที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย เช่น เฟอร์นิเจอร์
้
ํ
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
ั
์
ั