Page 212 - InsuranceHandbook
P. 212

บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย    193


 3. การแบ่งประเภทการประกันวินาศภัยตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535   เครื่องตกแต่ง สิ่งติดตั้งตรึงตรา เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน เครื่องดนตรี เครื่องเสียง เครื่องครว
                                                                                                           ั
 ในพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มีการกำหนดประเภทการประกันวินาศภัย         เครื่องนุ่งห่ม และทรัพย์สินอื่น ๆ เพื่อการอยู่อาศัยของผู้เอาประกันภัย โดยคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils
 ไว้ 4 ประเภท ดังต่อไปนี้   Basis) สำหรับความเสียหายที่เกิดจาก
                                  ้
 1. การประกันอัคคีภัย    1) ไฟไหม
 2. การประกันภัยรถยนต์    2) ฟ้าผ่า (รวมถึงความเสียหายต่อเครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เกิดจากการลัดวงจรจากฟ้าผ่า)
 3. การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง    3) ระเบิด
 4. การประกันภัยประเภทอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ 3 ประเภทข้างต้น (นิยมเรียกว่า การประกันภัยเบ็ดเตล็ด)   4) ภัยจากการเฉี่ยว และ/หรือ การชนของยวดยานพาหนะ หรือสัตว์พาหนะ
    ซงการประกันภัยแต่ละประเภทมีกฎเกณฑในการกำกับดูแลบางเรื่องที่แตกต่างกน เช่น การวางหลักทรัพย์   5) ภัยจากอากาศยาน และ/หรือ วัตถุที่ตกจากอากาศยาน
 ์
 ั
 ึ
 ่
 การกำหนดค่าบำเหน็จ ค่าความเสี่ยงในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันวินาศภัย เป็นต้น   6) ภัยเนื่องจากน้ำ (ไม่รวมน้ำท่วม) อันเกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ รวมถึงน้ำฝนที่ไหลผ่านช่องชำรุดของ
                                                                                                            ้
                                                                            ่
              ประตู หน้าต่าง วงกบ ช่องรับลม ช่องรับแสงสว่าง ท่อน้ำหรือรางน้ำ แตไม่รวมถึงน้ำท่วม น้ำไหลบ่าจากทางนำ
                                     ี่
 ผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยในประเทศไทย   ภายนอก ท่อประปาใต้ดินทอยู่ภายนอกอาคาร ระบบเครื่องพรมน้ำดับเพลิง หรือระบบดับเพลิงอัตโนมัติ หรือระบบ
 1. การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance)   หัวกระจายน้ำดับเพลิง (Automatic Sprinkler System)
 การประกันอัคคีภัยเป็นการประกันภัยทรัพย์สินซึ่งให้ความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils Basis)   7) ภัยจากลมพายุ

 ี
 ิ
 กล่าวคือ ให้ความคุ้มครองความสูญเสย หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สนที่เอาประกันภัย อันเนื่องมาจากภัยที่ระบุไว้  8) ภัยจากน้ำท่วม
 เท่านั้น                9) ภัยจากแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด หรือคลื่นใต้น้ำ หรือสึนามิที่มีสาเหตุจากธรรมชาติ
 ั
 การประกันอคคีภัยยังแบ่งไดอีก 2 ประเภทเพื่อตอบสนองความเสี่ยงของผู้เอาประกันภัยที่แตกต่างกัน คือ การ  10) ภัยจากลูกเห็บ
 ้
 ประกันอัคคีภัย และการประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย      การคุ้มครองภัยธรรมชาติตามข้อ  7) - 10) จะได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม
    1.1  การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance)    ความเสียหายที่เกิดขึ้นจริงทุกภัยรวมกันแล้วไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี
                                                      ี
                                            ์
                                                      ้
 ี
 ่
 เป็นการประกันภัยทให้ความคุ้มครองอาคารและสิ่งปลูกสร้าง (ไม่รวมฐานราก) ที่ใช้เป็นสถานที่ประกอบ    นอกจากนี้ กรมธรรมประกันภัยนยังได้ขยายความคุ้มครองในส่วนของค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราว
                                                                               ้
 กิจการต่าง ๆ เช่น ร้านค้า สำนักงาน โรงภาพยนตร์ ศูนย์การค้า โกดังหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ตลอดจน  กรณีอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่เอาประกันภัยไว้ได้รับความเสียหายจากภัยตามขอ 1) - 6)
 ึ
 ทรัพย์สินอื่น ๆ ที่เอาประกันภัยไว้ เช่น เฟอร์นิเจอร์ เครื่องตกแต่งติดตั้งตรงตรา อุปกรณ์สำนักงาน เครื่องใช้ไฟฟา
 ้
                                                ั
                                                                       ้
                                                                  ้
                                      ี
                                 ั
 ั
 สต็อกสินค้า เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้า เป็นต้น โดยคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils Basis) สำหรบ    การประกนภัยน้เหมาะสำหรบบุคคลทั่วไปที่เป็นเจาของบาน ตลอดจนคณะกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด
 ความเสียหายจากภัยต่อไปนี้   เป็นต้น

    1) ไฟไหม  ้      1.3  การประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก (เนื่องจากภัยที่เอาประกันภัยภายใต้กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย)
    2)  ฟ้าผ่า   [Business Interruption Insurance (due to Insured Perils under Fire Insurance Policy)]
    3) การระเบิดของแก๊สที่ใช้สำหรับทำแสงสว่างหรือประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยเท่านั้นแต่ไม่รวมถง     เป็นอีกกรมธรรมประกันภัยหนึ่งที่สามารถทำคู่กับกรมธรรมประกันอัคคีภัย เมื่อเกิดความสูญเสีย หรือ
 ึ
                                                                        ์
                                    ์
 ความเสียหายจากการระเบิดของแก๊สจากแผ่นดินไหว    ความเสียหายต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยแล้ว การประกันอัคคีภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะตัวทรัพย์สินท ่ ี
    4) ภัยเพิ่มพิเศษ ที่ได้ระบุไว้ชัดเจนในกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย   เอาประกันภัยไว้ ส่วนการประกันภัยธุรกิจหยุดชะงักจะคุ้มครองผู้เอาประกันภัยซึ่งเป็นสถานประกอบธุรกิจในกรณี
 ภัยเพิ่มพิเศษซึ่งผู้เอาประกันภัยสามารถขอขยายความคุ้มครองโดยจ่ายเบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม เช่น     ทรัพย์สินที่ใช้เพื่อประกอบธุรกิจ ณ สถานที่เอาประกันภัยได้รับความสูญเสียหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจาก
 ภัยแผ่นดินไหว ภัยน้ำท่วม ภัยเนื่องจากน้ำ ภัยจากลูกเห็บ ภัยลมพายุ ภัยจากการนัดหยุดงาน ภัยจลาจล    ไฟไหม้ ฟ้าผ่า การระเบิดของแก๊สที่ใช้สำหรับทำแสงสว่าง หรือประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย หรือความเสียหาย
 ื
 ภัยต่อเคร่องไฟฟ้า ภัยระเบิด ภัยอากาศยาน ภัยจากยวดยานพาหนะ ภัยจากควัน ภัยจากการกระทำอย่างป่าเถื่อน  เนื่องจากภัยเพิ่มพิเศษอื่น ๆ ที่ไดรับความคุ้มครองภายใต้กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย ในระหว่างระยะเวลาที่ได
                                                                                                             ้
                                           ้
 ั
 หรือการกระทำอนมีเจตนาร้าย เป็นต้น   เอาประกันภัย และเป็นผลให้ธุรกิจที่ดำเนินอยู่ ณ สถานที่เอาประกันภัยต้องหยุดชะงัก หรือได้รับผลกระทบ บริษัท

              จะจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยตามจำนวนความสูญเสีย หรือเสียหายที่แท้จริงอันเป็นผลของการท ่ ี
 การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของกิจการ เช่น บริษัท ห้าง ร้าน โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ   ธุรกิจต้องหยุดชะงัก หรือได้รับผลกระทบตามแต่ละรายการที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย เช่น ถ้าเป็นการ

    1.2  การประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย (Fire Insurance for Dwelling House)    เอาประกันภัยกำไรขั้นต้น (Gross Profit) ก็จะให้ความคุ้มครองจำกัดเฉพาะการสูญเสียกำไรขั้นต้น (Loss of Gross
 ี
    เป็นการประกันภัยทให้ความคุ้มครองทรัพย์สินที่เอาประกันภัยซึ่งเป็นสิ่งปลูกสร้าง (ไม่รวมฐานราก) ที่ใช้  Profit) อันเนื่องมาจากการลดลงของยอดรายได้ (Reduction in Turnover) และการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการ
 ่
                                                                                       ่
                                                                                       ู
 เป็นที่อยู่อาศัยเท่านั้น เช่น บ้าน ทาวน์เฮาส์ บ้านแฝด ตึกแถวสำหรับอยู่อาศัย ห้องชุดสำหรับอยู่อาศัยในแฟลต   ดำเนินกิจการ (Increase in Cost of Working) เป็นต้น เพื่อทำให้ผู้เอาประกันภัยกลับสสถานะทางการเงินดังเดิม
 อาคารชุด คอนโดมิเนียม อาคารย่อย โรงรถ กำแพง รั้ว ประตู เป็นต้น รวมทั้งส่วนปรับปรุงต่อเติม (ยกเว้นฐานราก)   เสมือนไม่ได้เกิดวินาศภัยนั้นขึ้น
 และทรัพย์สินภายในสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ภายในสถานที่เอาประกันภัยที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย เช่น เฟอร์นิเจอร์
                     การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับธุรกิจการค้า หรือสถานประกอบธุรกิจต่าง ๆ
                                       ิ
                                       ์
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217