Page 22 - InsuranceHandbook
P. 22
บทที่ 1 ความเสี่ยง 3
1. ความเสี่ยง (Risk) และโอกาส (Chance) 3. ภัย (Peril)
ในอดีตเวลาที่เราพดถึงความเสี่ยง (Risk) จะหมายถึงความสูญเสียหรือความเสียหาย (Loss or damage) ภัย (Peril) หมายถึง สาเหตุที่ทำให้เกิดความสูญเสีย หรือเหตุที่ก่อให้เกิดการสูญเสียต่อชีวิต ร่างกาย
ู
ึ
์
ซึ่งเป็นการคิดตั้งต้นไปก่อนในมุมลบว่า ความเสี่ยงเป็นสิ่งเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นในทางไม่ดี หรือไม่พงปรารถนา หรือทรัพยสิน เราสามารถจำแนกภัยออกได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
ุ
ั
เช่น ความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุรถยนต์ อุบติเหตุระหว่างการเดินทาง ไฟไหม้บ้านหรือโรงงานอตสาหกรรม เป็นต้น 3.1 ภัยจากธรรมชาติ (Natural Perils)
แต่เวลาที่เราพดถึงโอกาส (Chance) เรามักจะคิดตั้งต้นไปก่อนในมุมบวกว่า โอกาสเป็นสิ่งเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะ เป็นเหตุซึ่งอยู่นอกเหนือความสามารถที่มนุษย์จะควบคุมได้ เช่น การเกิดน้ำท่วม พายุไต้ฝุ่น ลูกเห็บ
ู
เกิดขึ้นในทางที่ดี เช่น โอกาสที่จะได้กำไรจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ โอกาสที่จะได้กำไรจากการลงทุนขายของ แผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม โรคระบาด ฯลฯ ซ่งทั่วโลกมีแนวโน้มที่จะเกิดภัยธรรมชาติบ่อยขึ้น
ึ
์
ออนไลน เป็นต้น 3.2 ภัยจากบุคคล (Human Perils หรือ Man-Made Perils)
เป็นเหตุซึ่งเกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การลอบวางเพลิง การประมาทเลินเล่อของตัวเองหรือบุคคล
2. ความเสี่ยง (Risk) อืน การชิงทรัพย์ การลักทรัพย์ การยักยอกทรัพย์สินหรือเงินของนายจ้าง การถูกฆ่าหรือถูกทำร้ายร่างกาย
่
ด้วยโลกที่เปลี่ยนไปและความรู้ที่พฒนามากขึ้น คำว่า “ความเสี่ยง” ในปัจจุบันนี้ไม่ได้มีความหมายในเชิง การกระทำอัตวินิบาตกรรม การก่อการร้าย การก่อวินาศกรรม การจลาจล ฯลฯ
ั
ิ
ี
ลบแตเพยงอย่างเดยวอกต่อไป แต่ความเสี่ยง (Risk) หมายถึงสภาวะซึ่งมีความไม่แน่นอนในผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นใน 3.3 ภัยจากเศรษฐกจ (Economic Perils or Business Perils)
่
ี
ี
้
ิ
ิ
ิ
ั
ี
่
่
ี
่
์
ี
้
้
อนาคตว่าจะตางไปจากทเราไดคาดการณไว้มากนอยเพยงใด (State of uncertainty in the deviation of the เป็นเหตุซึ่งเกดจากสภาพเศรษฐกจ เช่น ภาวะเงินเฟอ ภาวะเงินฝืด เศรษฐกจตกต่ำ การเปลยนแปลงในอตรา
่
ึ
actual outcome from the expected outcome) แลกเปลี่ยนซงมีผลต่อต้นทุนของสินค้า หรือวัตถุดิบที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ สภาพของสังคม เช่น
ี
้
ี
่
ดังนั้น ความเสี่ยงจึงเป็นเรื่องที่มีความไม่แน่นอนในอนาคตแฝงอยู่ด้วย หากเหตุการณ์ใดที่เราสามารถ การเปลยนแปลงในรสนิยมของผู้บริโภคที่หันมาซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์มากขึ้น ความกาวหน้าในเทคโนโลย ทำให ้
ิ
์
ทราบชัดเจนแน่นอนแล้วว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจะเป็นเช่นไร เหตุการณในลักษณะเช่นนั้นจะไม่ถือว่ามีความเสี่ยงอก ธุรกจที่ปรับตัวไม่ทันต้องเลิกกิจการไปในที่สุด
ี
ต่อไป
ั
ความเสี่ยงอาจเป็นสิ่งที่ไม่ดี หากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น (Actual Outcome) นั้นออกมาแย่กว่าผลลัพธ์ที่เรา 4. ภาวะภย (Hazard)
ิ
คาดการณ (Expected Outcome) ไว้ ซึ่งเรียกว่า ความเสี่ยงด้านลบ (Downside Risk) หรือภัยคุกคาม (Threat) ภาวะภัย (Hazard) เป็นภาวะหรือเงื่อนไขที่ทำให้ความเสี่ยงภัยเกิดขึ้น หรือเพมขึ้น ซึ่งอาจจะเพมระดับ
์
่
ิ่
้
และในทางกลับกัน ความเสี่ยงก็อาจถูกมองในเชิงบวกหรือเป็นสิ่งที่ดีได้ ซึ่งเรียกว่า ความเสี่ยงด้านบวก (Upside ความรุนแรงของการสูญเสียให้มากขึ้น หรือเพิ่มโอกาสที่จะเกิดการสูญเสียใหบ่อยขึ้น
Risk) หรือโอกาส (Chance) เราสามารถจำแนกภาวะภัยได้ 3 ประเภท คือ
่
็
ั
ดังนั้น ความเสี่ยงจะดีหรือไม่ดีก็ขึ้นอยู่กบมุมมองของแตละคนว่าใครจะสามารถมองเหนโอกาสจาก 4.1 ภาวะภัยทางกายภาพ (Physical Hazard )
่
ื่
เหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นภัยคกคามในมุมมองของผู้อน แล้วดำเนินการบางสิ่งบางอย่าง (Take Action) เพือ 4.2 ภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard)
ุ
ปรับเปลี่ยนภัยคุกคามนั้นให้กลายเป็นโอกาสของเราได้ เช่น การเกิดโรคระบาดจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 4.3 ภาวะภัยทางอุปนิสัย (Morale Hazard)
(Coronavirus Pandemic) ถือเป็นภัยคุกคามที่ทำลายระบบเศรษฐกจ ทำลายธุรกจต่าง ๆ ตลอดจนชีวิตและ
ิ
ิ
่
ึ
สุขภาพของคนทั่วโลก ซงถือว่าเป็นภัยคุกคาม หรือ Downside Risk ในสายตาของคนทั่วไป 4.1 ภาวะภัยทางกายภาพ (Physical Hazard)
ื
สำหรับบริษัทประกันภัยกลับมองเห็นว่าเป็นความเสี่ยงด้านบวก (Upside Risk) หรอโอกาสที่จะพฒนา เป็นสภาพทางด้านกายภาพของทรัพย์สินหรือวัตถุที่เพิ่มโอกาสให้เกิดการสูญเสียจากเหตุต่าง ๆ เช่น
ั
ื
ู
ประกนภัย COVID-19 รปแบบต่าง ๆ เพอรองรับความเสี่ยงด้านการเงินและสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้เอา 4.1.1 ประเภทของสิ่งปลูกสร้าง เช่น บ้านที่สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง มีโอกาสที่จะถูกไฟไหม้เสียหายได้ง่าย
ั
่
ิ่
ประกันภัย ซึ่งสามารถจะเพมรายได้เบี้ยประกันภัยรับให้แก่ธุรกิจประกันภัยเป็นจำนวนมาก หากมีการบริหารความ กว่าบ้านที่สร้างด้วยคอนกรีต เนื่องจากไม้เป็นวัสดุที่ติดไฟได้ง่ายและลุกลามได้เร็ว
ึ
่
้
เสี่ยงจากการรับประกันภัยนี้ไดดีและเหมาะสมในสถานการณ์นั้น ๆ 4.1.2 ที่ตั้งของทรัพย์สิน เช่น บ้านที่อยู่ในซอยแคบ รถดับเพลิงไมสามารถจะเขาถงได้ ย่อมมีโอกาส
้
้
สำหรับนักลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ กลับมองเห็นว่าในช่วงแรกที่มีการระบาดอย่างรุนแรง เกิดการตื่น เสียหายจากไฟไหม้ได้มากกว่าบ้านที่อยู่ริมถนนใหญ่ หองในอาคารชุดที่อยู่ชั้นสูง ๆ มีโอกาสเสียหายจากไฟไหมได ้
้
ี
ตระหนกและเทขายหุ้นออกมาอย่างหนัก ทำให้ราคาหุ้นทั่วโลกตกลงมามาก ก็มนักลงทุนจำนวนหนึ่งที่มองเห็นเป็น มากกว่าห้องในอาคารชุดที่อยู่ชั้นล่าง ๆ เนื่องจากแรงดันน้ำจากหัวฉีดของรถดับเพลิงอาจฉีดขึ้นไปไม่ถึง
โอกาสในการเข้าเลือกซอเฉพาะหุ้นที่มีคุณภาพดีราคาถูก และถือไว้เพื่อรอขายทำกำไรเมื่อราคาหุ้นนั้นเพิมสูงขึ้นใน 4.1.3 การใช้สถานที่ เช่น ใช้เป็นสถานที่เกบวัตถุไวไฟต่าง ๆ ในปริมาณมาก เช่น ทินเนอร์ แอลกอฮอล ์
็
ื้
่
ั
อนาคต น้ำมันก๊าด มีโอกาสที่จะเกดไฟไหม้ได้ง่ายกว่าอาคารที่ใช้อยู่อาศย หรือเป็นสำนักงานเท่านั้น
ิ
ิ่
4.1.4 การบรรทุกสิ่งของบนรถกระบะทั้งหนัก และสูงเกินไปจะเพมโอกาสให้เพลารถขาด และเกิด
อุบัติเหตุพลิกคว่ำได้
้
ิ
ั
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ั
์
ิ
ํ