Page 26 - InsuranceHandbook
P. 26
บทที่ 1 ความเสี่ยง 7
6.2.2 ความเสี่ยงจำเพาะ (Particular Risk)
เป็นความเสี่ยงที่มีผลกระทบ และก่อให้เกิดการสูญเสียต่อบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือกลุ่มบุคคลหนึ่งกลุ่ม
ิ
ุ
ุ
่
ี
ึ
ุ
บคคลใดโดยเฉพาะเท่านั้น โดยมีขอบเขตความสูญเสียอยู่ในวงจำกัด ซ่งบคคลเหล่านั้นสามารถมสวนควบคมการเกดภัย
ดังกล่าวได้ เช่น การเกิดเหตุรถชนกัน ไฟไหม้บ้าน ไฟไหม้โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
ั
จะเห็นได้ว่าความเสี่ยงต่อส่วนรวมมีผลกระทบต่อคนจำนวนมากจากเหตุการณ์ หรือสาเหตุเดียวกน
ี
้
และสามารถสร้างความเสยหายในวงกว้างกว่าความเสี่ยงจำเพาะ ผู้รับประกนภัยสามารถเขาไปรับประกนภัย
ั
ั
ุ
ความเสี่ยงจำเพาะไดเป็นส่วนมาก ในขณะที่ความเสี่ยงต่อส่วนรวม เช่น การเกิดมหาอทกภัย แผ่นดินไหว พายุไต้ฝุ่น
้
โรคระบาดทแพรกระจายเปนวงกว้างไปทวโลก (Pandemic) เป็นต้น ผู้รับประกนภัยโดยทั่วไปมขดความสามารถในการ
่
ี
ั
่
ี
่
็
ี
ั
ี
็
ั
้
รับประกนภัยเหล่านี้ได้ในขอบเขตจำกัด จึงเปนหน้าที่ของรัฐบาลในการเขาไปบรรเทาความเสยหายแก่ประชาชน
ผู้ประสบภัย
ั
ี
่
6.3 ความเสยงที่ผนแปรและความเสี่ยงที่คงที่ (Dynamic Risk & Static Risk)
6.3.1 ความเสี่ยงที่ผันแปร (Dynamic Risk)
ิ
้
เป็นความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพเศรษฐกจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม
ี
ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา แลวก่อให้เกิดการสูญเสยทางการเงินแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น
้
็
ิ
ิ
1) การเปลี่ยนแปลงในรสนิยมของผู้บรโภคจาการซื้อหนังสือพมพ์รายวัน วารสารเปนเล่ม ๆ หรือ
์
่
ิ
ซีดีเพลง มาเป็นการอานหนังสือพมพ์ออนไลน ซื้อหนังสือ E-Book ดาวนโหลดเพลงจาก YouTube หรอชมภาพยนตร์
์
ื
และซีรีส์ทาง Netflix
่
ิ
่
ั
ิ
์
้
ี
่
ื
้
2) การที่ผู้บริโภครุ่นใหม่นิยมซื้อสินคา หรอสงอาหารเดลเวอรออนไลนเพมขึ้นเรื่อย ๆ ทำใหกระทบตอ
้
ั
้
ยอดขายของรานคา รานอาหาร และห้างสรรพสินค้าซึ่งยังต้องมคาใช้จายในดานสถานที่ และจำนวนพนกงานที่ต้องจ้าง
่
ี
้
้
่
ค่อนข้างมาก ในขณะที่ธุรกิจออนไลน์สามารถลดคาใช้จ่ายส่วนนี้ลงไปได้
่
ี
3) การเปลยนแปลงในรปแบบการค้าปลีก ในรูปของซุปเปอร์เซนเตอร์ขนาดใหญ่ ตลอดจนการมี
็
ู
่
ื
้
ร้านสะดวกซอซึ่งเปิดตลอด 24 ชั่วโมง ทำให้ร้านค้าปลีกในรูปแบบเดิมแข่งขันไม่ได้ และต้องทยอยปิดตัวไป
4) การใช้ระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ซึ่งใช้เครื่องจักรและหุ่นยนต์ทั้งหมดตลอดสายการผลต โดยมี
ิ
่
ั
วิศวกรทำหน้าทควบคมระบบการผลตเพยงไม่กี่คนเท่านั้น ทำใหผู้ผลิตที่ยงใช้เทคโนโลยีสมัยเก่าซึ่งใช้คนงานจำนวนมาก
ี
้
ุ
ิ
ี
่
้
ิ
ี
ในการผลิตสินค้า และมต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าตองเลิกกจการไปในทสุด
ี
้
5) การกาวไปสู่สังคมไร้เงินสด (Cashless Society) โดยผู้บริโภคสามารถจายเงนค่าสินคาและบริการผ่าน
้
่
ิ
บริการการเงินอเล็กทรอนิกส์ (E-Payment) ซึ่งจะลดความเสี่ยงต่อการที่คนร้ายมาชิง หรือปล้นเงินซึ่ง ๆ หน้า
ิ
ื
ั
ั
ี
่
ิ
ื
ี
ตลอดจนลดความเสยงจากการหยบ หรอจบธนบตร หรอเหรยญกษาปณซึ่งอาจมีเชื้อโรคบางอย่างติดมา แต่การก้าวไปสู่
์
้
สังคมไร้เงินสดนี้กลับเพมความเสี่ยงจากอาชญากรรมด้านไซเบอร์ (Cyber Crime) ที่คนรายอาจเจาะระบบเข้ามา
ิ่
ิ
โจรกรรมเงนจากในบัญชีไปได้
6.3.2 ความเสี่ยงที่คงที่ (Static Risk)
เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากสาเหตุอน ๆ ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
ื่
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น
ิ
ั
ั
ํ
้
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
์