Page 29 - InsuranceHandbook
P. 29
10 คู่มือประกันวินาศภัยไทย
Thai General Insurance Handbook
1.1.3 การปฏิบัตตามกฎหมาย และกฎระเบียบข้อบังคับของทางราชการ (Meeting Regulatory
ิ
Obligations) เช่น พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
่
ุ
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบคคล กฎระเบียบต่าง ๆ ของกรมควบคุมโรงงานอตสาหกรรม เป็นต้น ซงธุรกิจ
ึ
ุ
จะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบข้อบังคับเหล่านี้ของทางราชการอย่างเคร่งครัด
1.2 วัตถุประสงค์ภายหลังจากที่มีความสญเสียเกิดขึ้น
ู
วัตถุประสงค์ภายหลังจากที่มีความสูญเสียเกิดขึ้น มีดังต่อไปนี้
ี่
1.2.1 การอยู่รอดของธุรกิจ (Survival of the firm) ภายหลังจากทมความสูญเสียเกิดขึ้นแล้ว ธุรกิจนั้น
ี
จะต้องสามารถเปิดดำเนินกิจการบางส่วน โดยเฉพาะศูนย์บริการลูกค้า ต่อไปได้ภายในระยะเวลาอันสมควร
1.2.2 การดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Continued Operation) ธุรกิจจะต้องพยายามดำเนนกจการต่อไป
ิ
ิ
่
่
ให้ได้ภายหลังจากที่เกดวินาศภัยอย่างรุนแรง หากไมสามารถดำเนินธุรกิจตอไปได ธุรกิจนั้นก็จะต้องสูญเสียลูกค้า
ิ
้
ทั้งหมดไปให้กับคู่แข่ง
1.2.3 การรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) การที่จะลดผลกระทบของวินาศภัยที่
เกิดขึ้นต่อสาธารณชน สิ่งแวดล้อม และสังคม ธุรกิจจะต้องคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมที่ควรจะมีต่อผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบจากวินาศภัยที่เกิดขึ้น
2. ขั้นตอนในการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง โดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้
2.1 การระบุ และวิเคราะห์ภัยที่อาจก่อให้เกิดความสูญเสีย (Identify and analyze exposures which
may lead to accidental losses)
2.2 การหาวิธีการต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในการบริหารความเสี่ยง (Formulate feasible Risk Management
alternatives for dealing with these exposures)
2.3 การคัดเลือกวิธีการที่คิดว่าดีที่สุดในการบริหารความเสี่ยง (Select the apparently best
alternative technique or combination of techniques)
2.4 การลงมือปฏิบัติตามแผน หรือวิธีการที่ได้เลือกไว้ (Implement the chosen technique(s))
2.5 การติดตามผลลัพธ์ที่ได้ (Monitor the results)
2.6 การตรวจสอบ และปรับปรุงวิธีการให้เหมาะสมกับภัยที่เปลี่ยนแปลงไป (Modify the chosen
technique(s) to adapt to changes in the loss exposures or to tolerable changes in the level of
losses)
2.1 การระบุและวิเคราะห์ภัยที่อาจก่อให้เกิดความสูญเสีย
์
การบริหารความเสี่ยงขององคกร (Enterprise Risk Management) สามารถแบ่งประเภทของความเสยง
ี
่
ออกได 11 ประเภทหลัก คือ
้
1. ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ (Credit Risk)
2. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk)
3. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk)
4. ความเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคล (Human Resource Risk)
5. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk)
6. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk)
7. ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง (Reputational Risk)
ิ
์
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
้
ํ
ั
ั
ิ