Page 24 - InsuranceHandbook
P. 24
บทที่ 1 ความเสี่ยง 5
ี
ิ
4.1.5 การขับรถคนเดยวเป็นเวลานานหลายชั่วโมงติดต่อกัน ทำให้เกดความอ่อนเพลีย และเมื่อยล้า 5. องค์ประกอบของความเสี่ยง
ึ
่
สะสมซงเพิ่มโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์จากการหลับใน ความเสี่ยงโดยทั่วไปประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 อย่างคือ
4.1.6 สุขภาพของคน เช่น ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นจำนวนมากในแต่ละวัน ย่อมมีโอกาสป่วยเป็นโรคมะเร็งปอด 5.1 ภัย (Peril) เปนเหตุที่กอใหเกดการสูญเสียต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน เช่น ไฟไหม ภัยธรรมชาตต่าง ๆ
ิ
ิ
่
็
้
้
วัณโรค โรคหัวใจ หรือโรคความดันโลหิตสูง มากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ และรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ ผู้ที่มี การกระทำของคน ฯลฯ
โรคประจำตัวซึ่งเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้แก่ โรคทางเดินหายใจเรื้อรง โรคหวใจและหลอดเลอด โรคไตวาย 5.2 ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) ซึ่งเป็นการรวมกันระหว่างความถี่ (Frequency) ที่จะเกิด
ั
ื
ั
ั
้
ื
ุ
็
้
เรื้อรัง โรคหลอดเลอดสมอง โรคอวน โรคมะเรง และโรคเบาหวาน หญิงตงครรภ์อายครรภ์ 12 สัปดาห์ขึ้นไป หาก เหตุการณ์หนึ่ง และความรนแรง (Severity) ของความเสยหายหากเกดเหตุการณ์นั้นขึ้น ความเสี่ยงที่มีระดับสูง
ุ
ิ
ี
ติดเชื้อ COVID-19 จะทำให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนและอาการรุนแรงมากกว่าคนปกติ มักเป็นความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดน้อย (Low Frequency) แต่เมื่อเกิดแล้วมีความรุนแรงมาก (High Severity)
4.1.7 อาชีพของคน เช่น พนักงานส่งเอกสารนอกสถานที่ คนงานที่คุมเครื่องจักรในโรงงาน 5.3 ภาวะภัย (Hazard) เปนภาวะ หรือเงื่อนไขที่ทำให้ความเสี่ยงภัยเพมขึ้น ซึ่งอาจจะเพมระดบความรุนแรง
็
ิ
ิ
่
ั
่
อตสาหกรรม กรรมกรก่อสร้าง มีโอกาสที่จะประสบอุบัติเหตุมากกว่าคนที่ทำงานอยู่ในสำนักงาน ของการสูญเสียให้มากขึ้น หรือเพิ่มโอกาสที่จะเกิดการสูญเสียให้บ่อยขึ้น
ุ
5.4 ความไม่แน่นอน (Uncertainty) บ่งบอกว่าจะเกิดเหตุการณ์นั้นหรือไม่ เนื่องจากมีข้อมูลเกี่ยวกับ
4.2 ภาวะภัยทางศีลธรรม (Moral Hazard) อนาคตไม่สมบูรณ์ ยิ่งมีความไม่แน่นอนมากเพียงไร กจะยิ่งมีความเสี่ยงมากขึ้นเพียงนั้น
็
ั
ิ่
เป็นสภาพ หรือเงื่อนไขที่ทำให้เกิด หรือเพมการเสี่ยงภัยสูงขึ้นอนเนื่องมาจากการกระทำอันไม่สุจริต
ึ
่
ั
เพอหวังผลประโยชน์จากการเอาประกนภัย ซงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เกิดการสูญเสียมากกว่าปกติ เช่น 6. ประเภทของความเสี่ยง (Classifications of Risk)
ื่
่
ั
4.2.1 เจ้าของโรงงานเจตนาวางเพลิงทรัพย์สินของตนที่เอาประกันอคคีภัยไว้ เพือหวังเอาเงิน ความเสี่ยงสามารถจำแนกออกเป็น 4 ประเภท คือ
ั
ค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกนภัย 6.1 ความเสยงแท้จริง และความเสี่ยงเกงกำไร (Pure Risk & Speculative Risk)
ี
่
็
ั
4.2.2 การที่ผู้เอาประกนภัยบางคนตัดอวัยวะของตนบางส่วน เช่น นิ้วมือบางนิ้ว หรือเอาของแหลม 6.2 ความเสี่ยงต่อส่วนรวม และความเสี่ยงจำเพาะ (Fundamental Risk & Particular Risk)
ุ
ั
ทิ่มแทงนยน์ตาข้างหนึ่งให้บอดแล้วไปแจ้งกับผู้รับประกันภัยว่าเกิดจากอบัติเหตุ โดยหวังจะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทน 6.3 ความเสี่ยงที่ผันแปร และความเสยงที่คงที่ (Dynamic Risk & Static Risk)
่
ี
จากผู้รับประกันภัย 6.4 ความเสี่ยงที่เอาประกนภัยได และความเสี่ยงที่เอาประกนภัยไม่ได้ (Insurable Risk & Uninsurable Risk)
้
ั
ั
4.2.3 ผู้เอาประกันภัยบางรายปกปิดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการที่ตนกำลังป่วยด้วยโรคร้ายแรงบางอย่างใน
ั
ระยะสุดท้าย ซึ่งผู้รับประกันภัยไม่สามารถจะรับประกนชีวิตได้อย่างแน่นอนถ้าหากได้ทราบข้อมูลการเจ็บป่วยนั้น 6.1 ความเสี่ยงแท้จริงและความเสี่ยงเกงกำไร (Pure Risk & Speculative Risk)
็
ี
โดยละเอยด ภายหลังจากที่รับประกันชีวิตบุคคลนั้นได้ไม่นานนัก ผู้เอาประกันภัยรายนั้นก็เสียชีวิตลง โดยม 6.1.1 ความเสี่ยงแทจริง หรอ ความเสี่ยงภัยแท้จรง (Pure Risk)
ี
ิ
้
ื
ผู้รับประโยชน์มาติดต่อขอรับเงินค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ประกันชีวิต เป็นความเสี่ยงจากเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอน ซึ่งเกดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือจากอบัติเหตุ ซึ่งมีโอกาสที่
ิ
ุ
4.2.4 ผู้รับประโยชน์ฆ่าผู้เอาประกันภัยเพอหวังได้รับเงินค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัย อาจจะเกิดการสูญเสียถ้ามภัยเกิดขึ้น หรือไม่มีการสูญเสียใด ๆ ถ้าไม่มีภัยเกิดขึ้น (Loss or No Loss) เช่น
ื่
ี
1) ความเสี่ยงที่เกิดกับบ้าน มีหลายประการ เช่น อัคคภัย ฟ้าผา ระเบิด แผ่นดินไหว ลมพายุ
ี
่
ิ
ความเสียหายที่เกดจากภาวะภัยทางศีลธรรมนี้ ถือเป็นการกระทำโดยไม่สุจริต ผู้รับประกันภัยมีสิทธิ์ปฏิเสธ
การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยได้ น้ำท่วม ลูกเห็บ เป็นต้น ถ้าหากมีภัยหนึ่งภัยใดที่กล่าวมานี้ จะทำให้บ้านได้รับความเสียหายได้ แต่ถ้าหากไม่มี
เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น บ้านหลังนั้นก็จะยังคงอยู่ในสภาพเดิม โดยที่เจ้าของบ้านไม่มีการสูญเสียทางการเงิน หรือ
ไดรับกำไรจากการที่ไม่มีวินาศภัยเกดขึ้น
ิ
้
4.3 ภาวะภัยทางอุปนิสัย (Morale Hazard) 2) ผู้ที่เดินทางโดยรถโดยสารทัศนาจรไปต่างจงหวัดมีความเสี่ยงต่อการที่อาจประสบอุบติเหตุ
ั
ั
ั
ิ
่
ี
่
ื
ิ
เป็นสภาพ หรือเงื่อนไขที่ทำให้เกิด หรอเพ่มการเสยงภัยอันเนองมาจากการกระทำตามอุปนสย มใช่การ
ิ
ื
้
ุ
ุ
ั
ี
ิ
ุ
่
ึ
กระทำโดยเจตนาทจรต ซงเป็นสภาพที่มักจะเกิดขึ้นกบบุคคลบางคนที่มอุปนิสัยประมาทเลินเล่อ และเจตนา เช่น ขณะเดินทาง เพราะรถเบรคแตกขณะแล่นลงเขา เมื่อเกิดอบัติเหตุขึ้นบคคลนั้นอาจไดรับบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต
แต่ถ้าหากไม่มีอุบัติเหตุใด ๆ เกิดขึ้น เขาก็จะเดินทางไปถึงจุดหมายได้ตามปกติ
่
ี
การขับรถฝ่าสัญญาณไฟแดง การขับขรถจักรยานยนตยอนศรและไม่เปิดไฟหน้ารถในเวลากลางคืน มีโอกาสที่จะ 6.1.2 ความเสี่ยงเกงกำไร หรือ การเสี่ยงภัยเกงกำไร (Speculative Risk)
้
์
็
็
ประสบอบัติเหตุถูกรถคันอนเฉี่ยวชนได้มากกว่าบุคคลทั่วไปที่ปฏิบัติตามกฎจราจร เป็นต้น นอกจากน้นยังมีบุคคล เปนความเสี่ยงที่มีโอกาสขาดทุน เสมอตัว หรือได้รับกำไร (Loss, Break Even or Gain) เช่น
ุ
ั
ื่
็
บางประเภทที่ได้เอาประกนภัยทรัพย์สินของตนไว้แล้ว แต่ไม่เอาใจใส่ป้องกันอบัติเหตุ หรือความเสียหายที่อาจจะ 1) การลงทุนในตลาดหลกทรัพย์ นักลงทนอาจประสบกบการขาดทุนถ้าหากขายไดตำกว่าราคาที่ซื้อมา
ั
ุ
ุ
่
ั
ั
้
เกิดขึ้นต่อทรัพย์สินนั้นอย่างเต็มที่ โดยถือว่าตนเองได้เอาประกันภัยไว้แล้ว หากมีความเสียหายอะไรเกิดขึ้นต่อ (Realized Loss) เสมอตวถ้าขายได้เท่ากับราคาที่ซื้อมา (Break Even) หรอไดรับกำไรถ้าหากขายได้สูงกว่าราคาที่ซื้อมา
ื
้
ั
ทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไว้ ผู้รับประกันภัยมีหน้าที่จะตองมาชดใช้ค่าเสียหายตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย (Realized Gain)
้
ความสูญเสียในกรณีเหล่านี้ ล้วนเกิดจากการขาดความระมดระวังในการป้องกันภัยตามสมควร เช่น
ั
่
ั
การขบรถด้วยความคึกคะนอง โดยไมสนใจว่าอาจจะเกิดความเสียหายต่อรถยนต์ของตน หรือไปทำความเสียหายต่อ
ี
ั
้
์
ทรัพยสินของบุคคลภายนอก หรือไปชนคนอนบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตได้ โดยคิดแต่เพยงว่าตนไดเอาประกนภัยไว้แลว
ื่
้
ผู้รับประกนภัยมีหน้าที่ต้องชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นในทุกกรณี เป็นต้น
ั
ั
้
ํ
ิ
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ั
ิ
์