Page 28 - InsuranceHandbook
P. 28
6.4 ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยได้และความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ (Insurable Risk & บทที่ 2
Uninsurable Risk) การบริหารความเสี่ยงขององค์กร
6.4.1 ความเสี่ยงที่เอาประกนภัยได (Insurable Risk)
้
ั
เปนความเสี่ยงที่มีลักษณะเป็นความเสี่ยงแท้จริง (Pure Risk) และเปนความเสี่ยงจำเพาะ (Particular Risk) ธโนดม โลกาพัฒนา
็
็
ี่
ั
ี
ึ
ี
่
ซงมผลกระทบเฉพาะบุคคล เท่านั้น เช่น กรณีทไฟไหม้บ้านหนึ่งหลัง หรือหลายหลงในละแวกเดยวกัน
่
ิ
ั
ั
เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่จะแสวงหาความปลอดภัยและความมนคงในชีวิต สำหรบผู้ประกอบธุรกจ
็
้
6.4.2 ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ (Uninsurable Risk) กเช่นเดียวกัน ต่างก็ตองการผลตอบแทนจากเงินที่ลงทุนไป ความเสี่ยงในรูปแบบต่าง ๆ เป็นสิ่งที่คู่กับการดำเนิน
ั
ิ
้
ื่
้
ั
ั
ั
ั
้
ในการรบประกนภัยนน ผู้รับประกนภัยไม่สามารถจะรับประกันความเสี่ยงไดทุกประเภท เนื่องจาก ธุรกิจ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ธุรกจจะพยายามแสวงหามาตรการ วิธีการปองกน และการแก้ปัญหาเพอลดความเสี่ยง
ิ
ี
ขาดสถิติ ขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรมอันด หรือผลประโยชน์ของสาธารณะ ผู้เอาประกนภัยไมมส่วนได้เสียในสิ่งที่เอา เหล่านั้น ความเสี่ยงที่เกดขึ้นย่อมก่อให้เกิดความตึงเครียดทางร่างกายและจิตใจ เช่น ก่อให้เกิดความหวาดกลัว และ
ี
ั
่
ั
ประกันภัย ตลอดจนเปนความเสียหายที่เป็นมหันตภัย (Catastrophic Loss) ซงเราจะได้ศึกษาโดยละเอยดใน ความวิตกกงวลต่อบุคคลที่เผชิญกับความเสี่ยงนั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะแตกต่างกันไป ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ึ
็
ี
่
บทที่ 3 ตอไป ขีดความสามารถ และประสบการณ์ของบุคคลและธุรกิจที่จะเผชิญกับความสูญเสียทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้น
่
่
ึ
ี
ี
ุ
ในปัจจบัน ธุรกิจขนาดใหญ่มการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ ซงมขอบเขตกว้างกว่า
การเอาประกนภัยเพียงอย่างเดียว
ั
ิ
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) เปนกระบวนการกำหนดกลยุทธ์ และการดำเนนงาน
็
อย่างเป็นระบบในการระบุเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยง และประเมินความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นต่อองค์กร
รวมทั้งการเลือกวิธีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม และนำไปปฏิบัติเพอขจัดความเสี่ยงให้หมดไป หรือ
ื่
ลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได โดยกระทำอย่างต่อเนื่องทั้งกอน ระหว่าง และหลังจากที่เกิดวินาศภัย
่
้
ขึ้น เพื่อลดผลกระทบของความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นต่อองค์กรโดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
ในปัจจุบัน ธุรกิจขนาดใหญ่มการบริหารความเสี่ยงอย่างเปนระบบในภาพรวมของทงองคกร (Enterprise
์
ี
ั
้
็
Risk Management) โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee)
ั
ิ
่
เพือรบผดชอบในการกำหนดนโยบาย และการกำกับดูแลการปฏิบัตงานของฝ่ายบริหารความเสี่ยง
ิ
(Risk Management Department) ซึ่งจะกำหนดกลยุทธ์ทั่วทั้งองค์กรให้สามารถระบุเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น
และสงผลกระทบตอองคกร รวมทั้งการจัดการกับความเสี่ยงเหล่านั้นให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้
่
์
่
ิ
(Risk Appetite) และมีแผนในการรับมือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่อาจจะทำให้ธุรกจต้องหยุดชะงักลง (Business
ี
Continuity Plan: BCP) ไม่ว่าจะเป็นเหตุที่ทำให้ธุรกิจหยุดลงเป็นเวลาเพยงไม่กี่ชั่วโมง หรือเป็นเวลาหลายวัน หรือ
ื่
หลายเดือนก็ตาม เพอที่จะทำให้สามารถกลับมาดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องเร็วที่สุด และเกิดความเสียหาย
ต่อลูกค้า ทรัพย์สิน ชื่อเสียง ตลอดจนการดำเนินธุรกิจให้น้อยที่สุดด้วย
1. วัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญหลายประการ ซึ่งสามารถจะแยกออกได้ 2 กลุ่ม คือ
ี
1.1 วัตถุประสงค์ก่อนที่จะมความสูญเสียเกิดขึ้น
ิ
รูปภาพที่ 1-2 ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ 1.2 วัตถุประสงค์ภายหลังจากที่มีความสูญเสียเกดขึ้น
ี
1.1 วัตถุประสงค์ก่อนที่จะมความสูญเสียเกิดขึ้น
ี
วัตถุประสงค์ก่อนที่จะมีความสูญเสียเกิดขึ้น มดังต่อไปนี้
ิ
1.1.1 การประหยด (Economy) ธุรกจควรเตรียมการสำหรับความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในทางที่ประหยัด
ั
ที่สุด ซึ่งจำเป็นจะต้องวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายของวิธีการต่าง ๆ ที่จะใช้ในการบริหารความเสี่ยง และพยายามเลือกวิธีการ
ที่เสียค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด แต่เกิดประสิทธิผลสูงสุด
1.1.2 การลดความกระวนกระวายใจ (Reduction of Anxiety) วิธีการบริหารความเสี่ยงที่มีอยู่จะต้อง
ลดความกระวนกระวายใจ และความหวาดกลัวที่มีอยู่ให้เหลือน้อยที่สุด
ิ
ิ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
์
ั
้
ํ
ิ
ั
ิ