Page 34 - InsuranceHandbook
P. 34

บทที่ 2 การบริหารความเสี่ยงขององค์กร  15



 ื่
 ที่จะต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล ตลอดจนค่าชดเชยอน ๆ แก่ผู้บริหารท่านนั้น ขณะเดียวกันก็ทำให้การบริหารงาน  2.2 การหาวิธีการต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในการบริหารความเสี่ยง
                                                                        ุ
 ขององค์กรต้องสะดุดลง   วิธีการตาง ๆ ที่สามารถจะใช้ในการบริหารความเสี่ยงของบคคล หรือธุรกิจโดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 2
                            ่
 4.1.3 ความเสี่ยงต่อการที่พนักงานที่มีความสำคัญขององค์กรลาออก (Risk of key employee’s   กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
 ิ
 resignation) ธุรกจบางแห่งอาจประสบกับการสูญเสียอย่างใหญ่หลวง เมื่อพนักงาน หรือผู้บริหารที่มีความสำคัญ  1. การควบคุมความเสี่ยง (Risk Control)
 ต่อองคกรซึ่งมีทั้งความรู้ ประสบการณ และความชำนาญงานมาเป็นเวลายาวนานตัดสินใจลาออกไป ทำให้ธุรกิจ  2. การจัดการทางการเงินสำหรับความเสี่ยง (Risk Financing)
 ์
 ์
 ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงาน หรือผู้บริหารใหม่มาทดแทน และยงจะต้องใช้เวลาอกระยะหนึ่งกว่าพนักงาน
 ั
 ี
                                        ่
                                        ี
 หรือผู้บริหารใหม่นั้นจะสามารถทำงานเข้าท  ี่  1 การควบคุมความเสยง (Risk Control)
                                       ื่
 4.2 ความเสี่ยงต่อบุคคลโดยทั่วไป จะมีความเสี่ยงดังต่อไปนี้   มีวัตถุประสงค์เพอลดโอกาสที่จะเกิดความสูญเสีย (Loss Frequency) และ/หรือลดระดับความรุนแรง
 4.2.1 ความเสี่ยงต่อสุขภาพ (Risk of poor health) จากการเจ็บป่วย หรือประสบอบัติเหตุโดยที่  ของความสูญเสีย (Loss Severity) ที่อาจจะเกิดขึ้นให้เหลือน้อยที่สุด ซึ่งแบ่งออกได้ 5 วิธี คือ
 ุ
 ไม่ได้คาดคิดมาก่อน เช่น ประสบอบัติเหตุรถพลิกคว่ำทำให้ขาหักต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล ป่วยด้วยโรคมะเร็ง                       1.1 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง หรือ การหลีกเลี่ยงภัย (Risk Avoidance) โดยพยายามขจัดโอกาสที่
 ุ
 ่
 ึ
 ซงจะต้องไปรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และจะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก     จะเกิดความสูญเสียจากสาเหตุบางอยางให้หมดสิ้นไป โดยการใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงภัย เช่น
                                             ่

 4.2.2 ความเสี่ยงต่อการพิการหรือทุพพลภาพระยะยาว (Risk of long term disability) ภายหลัง  1) เมาไม่ขับ แต่กลับรถแท็กซี่แทน
                                           ุ
                                                          ิ
 ั
 จากประสบอบัติเหตุรถยนต์ทำให้กระดูกสันหลังเคลื่อนไปทบประสาทไขสนหลังอย่างรุนแรงจนไม่สามารถจะ      2) หลีกเลี่ยงอบัติเหตุที่อาจจะเกดจากการขับขี่ หรือโดยสารรถจักรยานยนต์โดยเปลี่ยนไปขึ้น
 ั
 ุ
 ่
 ุ
 ั
 ขยับตัวและกลายเป็นบุคคลทพพลภาพไปตลอดชีวิต ในขณะที่ผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานอยางรุนแรงน้นแพทย์  รถโดยสารสาธารณะแทน
 จำเป็นต้องตัดขาทเป็นเนื้อตายและติดเชื้อ เพื่อไม่ให้ลุกลามไปยังอวัยวะอื่นทำให้บุคคลนั้นต้องกลายเป็นคนพิการไป   3) หลีกเลี่ยงการทำงานที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายโดยเปลี่ยนไปทำงานอื่นที่เสี่ยง

 ี่
 4.2.3 ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (Risk of premature death) บุคคลโดยทั่วไป  อันตรายน้อยกว่า
 ต่างก็หวังว่าจะมีชีวิตที่ยืนยาว และมีสุขภาพที่ดีในบั้นปลายของชีวิต แต่บางครั้งบุคคลเหล่านี้อาจเสียชีวิตเนื่องจาก       4) หลีกเลี่ยงการเดินทางเข้าไปในพื้นที่เสี่ยงซึ่งกำลังมีโรคระบาด
                                                                                            ิ
 อุบัติเหตุบางอย่าง เช่น อุบัติเหตุรถยนต์ หรือเสียชีวิตอย่างกะทันหันจากการที่หัวใจวายเฉียบพลัน หรือจากการติด  วิธีการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงนี้อาจจะมีข้อจำกัดบางประการในทางปฏิบัต เช่น เป็นคำสั่งของ
 ี
 เชื้อไวรสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในขณะที่บุคคลนั้นยังอยู่ในวัยทำงาน เช่น อายุเพยง 40 ปี ซึ่งยังมีโอกาสที่จะ  นายจ้างให้พนักงานที่กลัวเครื่องบินตกเปนอยางมากต้องเดินทางโดยเครื่องบินเพอให้ทันไปพบลูกค้ารายใหญ่ ซึ่ง
                                                    ่
                                                                                  ื่
 ั
                                                 ็
 ี
 เจริญก้าวหน้าในอาชีพ และสามารถจะหาเงินเลี้ยงครอบครัวได้อกเป็นเวลาหลายปี ซึ่งในปัจจุบันนี้ สาเหตุของการ  เป็นสิ่งที่พนักงานผู้นั้นหลีกเลี่ยงไม่ได้
 เสียชีวิตก่อนวัยอันควรในประเทศไทยมักเกิดจากอบัติเหตุ โรคมะเร็ง และโรคหัวใจ
 ุ
 ี
 ี
 ่
 4.2.4 ความเสยงต่อความชราภาพ (Risk of old age) เป็นความเสี่ยงที่บุคคลบางคนอาจมชีวิตท ่ ี                       1.2 การป้องกันความสูญเสีย หรือการป้องกันวินาศภัย (Risk Prevention หรือ Loss
 ิ
 ื่
 ยืนยาวเกนไป และไม่มีเงินเพยงพอสำหรับเป็นค่าใช้จ่ายเพอการดำรงชีวิตในบั้นปลาย หรือไม่มีลูกหลานคอยดูแล  Prevention) เป็นการใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อป้องกันความสูญเสีย หรือความเสียหายก่อนที่จะเกิดเหตุขึ้น เช่น
 ี
 เอาใจใส่ ด้วยสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้ประเทศไทยกาวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) อย่างเต็ม  1) การติดป้ายห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณโรงงานและโกดังสินค้า
 ้
 ั
 ิ่
 รปแบบ โดยสดสวนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเพมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่สัดส่วนประชากรในวัยทำงานม ี  2) การตรวจสภาพรถยนต์ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์อยู่เสมอ
 ่
 ู
                                                                   ี่
 แนวโน้มที่ลดลง                3) การพักผ่อนให้เพียงพอเพอให้มีร่างกายทพร้อมสำหรับการขับรถทางไกล
                                                       ื่
                                                            ื่
                                                                                                ิ
 4.2.5 ความเสี่ยงต่อการว่างงาน (Risk of unemployment) เป็นความเสี่ยงที่คนหนุ่มสาวจำนวน  4) การมีพนักงานขับรถสำรองเพอผลัดเปลี่ยนกันขับรถสำหรับกรณีการเดนทางที่มีระยะ
 มากของประเทศประสบอยในปัจจบัน รวมทั้งคนบางสวนททำงานในวงการธุรกจ หรือในโรงงานอตสาหกรรม ซึ่ง  ทางไกล
 ่
 ู
 ุ
 ี
 ่
 ุ
 ่
 ิ
 ิ
 เกิดขึ้นในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ โดยเฉพาะในช่วงที่มีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ธุรกจหลาย  5) การตรวจกระเป๋า และสมภาระตลอดจนการตรวจยานพาหนะของผู้ที่จะเข้าไปภายใน
                                                       ั
 แห่งมีรายได้ลดลงอย่างมากหรือไม่มีรายไดเลย ทำใหประสบกบภาวะขาดทน และจำเป็นตองตดสนใจปลด หรือ   อาคารสำนักงานเพื่อป้องกันการก่อการร้าย หรือลอบวางระเบิด
 ั
 ้
 ุ
 ้
 ิ
 ั
 ้
 ้
 หรือเลิกจ้างพนักงานบางส่วนหรือทั้งหมด ตลอดจนมแนวโนมการว่าจางพนกงานใหม่น้อยลงเนื่องจาก  6) การหมั่นตรวจตรา และบำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ดี
 ี
 ั
 ้
 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยทำให้มการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) และหุ่นยนต์   7) การตรวจคัดกรอง (Screening) บุคคลก่อนที่จะอนุญาตให้ผ่านเข้าไปในอาคาร หรือในพื้นที่
 ี
 ี
 (Robot) ในการทำงานแทนคนในหน้าที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรม และโกดังเกบสินค้าเพิ่มมากขึ้น   8) การสวมใส่หน้ากากอนามัย (Mask) สำหรับผู้ที่ปกติเพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคจากผู้อื่น และ
 ็
              สำหรับผู้ป่วยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคไปยังผู้อื่น
                                               ุ
                               9) การสวมใส่ชุดอปกรณ์ป้องกันอนตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment:
                                                             ั
              PPE) สำหรับเจ้าหน้าที่ซึ่งจะต้องปฏิบัติงานในพื้นที่มีอันตราย หรือกำลังมีโรคระบาด

                                   1.3 การบรรเทาความสูญเสีย หรือการควบคุมความเสียหาย (Loss Reduction หรือ Loss
              Control) เป็นการใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อควบคุม และลดระดับความรุนแรงของความสูญเสีย หรือเสียหายที่อาจจะ
                                                             ี
                      ่
              เกิดขึ้น ซงจะกระทำขณะที่กำลังเกิด หรือภายหลังจากที่มวินาศภัยเกิดขึ้น เช่น
                      ึ
                                                               ํ
                                       ิ
                                       ์
                                                  ั
                                                    ิ
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                                             ้
                                                        ั
                                    ิ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39