Page 222 - InsuranceHandbook
P. 222

บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย    203



 3.1. ประเภทการประกันภัยทางทะเลและขนส่ง   โดยปกติการประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักรจะกำหนดระยะเวลาเอาประกันภัยได้ 2 แบบ คือ
 3.1.1 การประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร (Marine Hull & Machinery Insurance)     1. การประกันภัยแบบกำหนดเวลา (Time Insurance หรือ Time Policy) เป็นการประกันภัยที่กำหนด
 โดยทั่วไป อาจจะแบ่งเรือออกได้เป็น 2 ประเภท คือ   ระยะเวลาสำหรับการให้ความคุ้มครองความเสี่ยงภัยของวัตถุที่เอาประกันภัยไว้อยางแน่นอน โดยเริ่มจากเวลาใด
                                                                                   ่
 1) ประเภทไม่มีเครื่องจักร (No-engine) หรือไม่มีกำลังขับเคลื่อนของตนเอง เช่น เรือฉลอม (River   เวลาหนึ่งตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย และสิ้นสุดความคุ้มครองเมื่อถึงเวลาตามที่ระบุไว้ใน

 Boat) เรือโป๊ะ (Lighter) เรือลำเลียง (Barge) เรือบด (Dinghy) เรือพาย (Row Boat) เป็นต้น   กรมธรรม์ประกันภัย เช่น ระยะเวลาประกันภัย 12 เดือน เริ่มคุ้มครองวันที่ 1 มกราคม 25X4 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม
 2) ประเภทที่มีเครื่องจักร หรือกำลังขับเคลื่อนเอง (Self-propelled) เช่น เรือประมง (Fishing   25X4 การประกันภัยแบบนี้เหมาะสำหรับเรือบรรทุกสินค้า เรือบรรทุกน้ำมัน ฯลฯ ที่จะต้องทำการเดินเรือจากท ่ ี

 Boat) เรือลากจูง (Tug หรือTugboat) เรือเร็ว (Speed Boat) เรือสำราญ (Pleasure Vessel หรือ Pleasure   หนึ่งไปอีกที่หนึ่งตลอดเวลา

 Craft หรือ Yacht) เรือบรรทุกผู้โดยสาร (Passenger Vessel) เรือบรรทุกสินค้าทั่วไป (General Cargo Vessel   2. การประกันภัยแบบกำหนดเป็นรายเที่ยว หรือเฉพาะเที่ยวเดินทางใดโดยเฉพาะ (Voyage
 ์
 หรือ Dry Cargo Vessel) เรือคอนเทนเนอร (Container Vessel) เรือบรรทุกสินค้าแช่เย็น/แช่แข็ง (Reefer   Insurance หรือ Voyage Policy) เป็นการประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองความเสี่ยงภัยของวัตถุที่เอาประกันภัย
 Vessel) เรือบรรทุกรถยนต์ (Roll On-Roll Off หรือ Ro-Ro Vessel) เรือบรรทุกสินค้าที่เป็นของเหลว (Liquid   จากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง หรืออีกหลายสถานท ความคุ้มครองจะสิ้นสุดทันทีเมื่อวัตถุที่เอาประกันภัยได้
                                                              ่
                                                              ี
 Cargo Vessel หรือ Tanker) เรือบรรทุกน้ำมันขนาดใหญ่ที่มีระวางขับน้ำกว่า 300,000 ตัน (Supertanker) เรือ  ไปถึงจุดหมายปลายทางตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย เช่น กรณีของการลากเรือที่ใช้งานในกิจการพเศษ เช่น
                                                                                                     ิ
 บรรทุกสินค้าเทกอง (Bulk Carrier) เรื่อที่มีเครื่องยกของหนัก/สินค้าโครงการ (Heavy-Lift/Project Cargo   เรือขุดลอกต่าง ๆ ปั้นจั่นลอยน้ำ อู่ลอยน้ำ แพและแท่นเจาะต่าง ๆ กรณีที่ซื้อเรือใหม่และเรือลำนั้นต้องเดินทาง

 Vessel) เป็นต้น   ไปยังสถานที่ส่งมอบเรือ กรณีที่เป็นการซื้อเรือและต้องการเอาประกันภัยเพื่อให้ความคุ้มครองเฉพาะการเดินทาง

              จากสถานที่ส่งมอบเรือเพอนำกลับไปยังท่าเรือจดทะเบียนของผู้ซื้อ กรณีของเรือที่ได้รับความเสียหาย และยังไม่ผ่าน
                                   ื่
 การประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักรจะครอบคลุมถึงโครงสร้างของตัวเรือ รวมทั้งเครื่องจักร และอุปกรณ ์  การซ่อมแซม หรือผ่านการซ่อมแซมชั่วคราวเพื่อเดินทางไปยังอู่ซ่อมเรือ กรณีของการเดินเรือในระยะสั้น ๆ เพ่อ
                                                                                                           ื
 ต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของตัวเรือ   การทดสอบเรือ หรือกรณีของการซื้อเรือเก่าเพื่อเดินทางไปยังสถานที่รื้อและทำลายให้เป็นเศษเหล็ก เป็นต้น

 ิ
 ้
 ตัวเรือ (Hull) หมายความถึง โครงสร้างของเรือซึ่งอาจจะทำด้วยไม (Wood) เหล็ก (Steel) เหล็กชนด     ในที่นี้จะอธิบายเฉพาะการประกันภัยตัวเรือ และเครื่องจักรแบบกำหนดระยะเวลา ซึ่งมีข้อกำหนด
 ไม่เป็นสนิม (Stainless Steel) อลูมิเนียม (Aluminium) หรือวัสดุอื่น และรวมถึงรอกสำหรับยกของ เครื่องกว้าน   ความคุ้มครองตัวเรือให้เลือกได้หลายแบบ แต่มีข้อกำหนดฉบับมาตรฐานสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือและ
 ปั้นจั่น พวงมาลัย เครื่องตดตั้งสำหรับผู้โดยสาร เครื่องเฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ สัมภาระ (Materials) ชุดเครื่องมอ   เครื่องจักร เรียกว่า Institute Time Clauses (Hulls) หรือ “ITC” จัดพิมพ์โดยสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งกรุงลอนดอน
 ื
 ิ
 (Outfits) เรือช่วยชีวิต (Lifeboat) และอื่น ๆ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของตัวเรือและเกี่ยวข้องกับการใช้งานของเรือ    (The Institute of London Underwriters: ILU) ซึ่งปัจจุบันเป็น International Underwriting Association of
 ั
 เครื่องจักร (Machinery) หมายความถึง ส่วนที่ให้พลงงานในการเดินเรือและให้แสงสว่าง ความร้อนและ  London: IUA) โดยมีข้อกำหนดฉบับมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางจากทั่วโลกอยู่ 3 แบบ คือ
 ่
 ความเย็น ซึ่งได้แก เครื่องจักรใหญ่ที่ใช้ในการขับเคลื่อนเรือ (Main Engine) ส่วนควบของเครื่องจักรใหญ่ เพลาและ     1. Institute Time Clauses - Hulls Total Loss Only (Including Salvage, Salvage Charges, Sue and
 ใบจักร หม้อน้ำเรือ (Marine Boiler) เครื่องทำความเย็น เครื่องกำเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณการเดินเรือต่าง ๆ   Labour) (CL.289)
 ์
 และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งเป็นทรัพย์สินของผู้เอาประกันภัยและอยู่ในเรือลำนั้น    ให้ความคุ้มครองตัวเรือ และเครื่องจักรที่ติดตั้งอยู่ในเรือที่เอาประกันภัย ที่ได้รับความสูญเสียทั้งหมดอน
                                                                                                           ั
 ปกติการประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักรจะไม่คุ้มครองถึงสินค้าที่อยู่บนเรือ หรือทรัพย์สินส่วนตัวของ  เนื่องมาจากไฟไหม ระเบิด ชนกัน จม รวมทั้งการกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่ายในการกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่าย
                               ้
 ผู้โดยสาร เจ้าหน้าที่ และลูกเรือ   ในการบรรเทาความเสียหาย
 ่
 ื
 การประกันภัยตัวเรือและเครองจักร เป็นการเอาประกันภัยแบบกำหนดมูลค่า (Valued Policy) โดยระบุ  2. Institute Time Clauses - Hulls Total Loss Only, General Average, Collision Liability (Including
 ่
 มูลค่าของตัวเรือและเครื่องจักรรวมเป็นจำนวนเดียวกัน มูลค่าที่เอาประกันภัยซงผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัย  Salvage, Salvage Charges, Sue and Labour) (CL.284)
 ึ
 ได้ตกลงกน (Agreed Value) ไว้นี้ถือเป็นที่สุด และไม่อาจโต้แย้งได้อกระหว่างผู้เอาประกันภัยกับผู้รับประกันภัยใน  ให้ความคุ้มครองตัวเรือและเครื่องจักรที่ติดตั้งอยู่ในเรือที่เอาประกันภัย ที่ได้รับความสูญเสียทั้งหมด
 ี
 ั
 เรื่องของมูลค่าที่แท้จริงของเรือ (เว้นแต่จะมีการฉ้อฉลกัน) ดังนั้น หากตัวเรือและเครื่องจักรที่เอาประกันภัยไว้ได้รับ  อันเนื่องมาจากไฟไหม ระเบิด ชนกัน จม ความเสียหายทั่วไป และความรับผิดต่อคู่กรณีเนื่องจากเรือชนกัน รวมทั้ง
                                ้
 ความเสียหายสิ้นเชิง ผู้เอาประกันภัยจะได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเต็มตามจำนวนมูลค่าที่ได้ตกลงกันไว้โดย  การกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่ายในการกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่ายในการบรรเทาความเสียหาย

 ไม่จำเป็นต้องดูว่าควรจะเอาประกันภัยไว้ในมูลค่าที่สูงกว่าหรือต่ำกว่านี้หรือไม่





                                                             ้
                                                               ํ
                                      ิ
                                       ์
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                    ิ
                                                        ั
                                       ิ
                                                  ั
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227