Page 226 - InsuranceHandbook
P. 226

บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย    207




 เงื่อนไขความคุ้มครอง ICC(A) จะมีความคุ้มครองกว้างที่สุด รองลงมาเป็นเงื่อนไขความคุ้มครอง ICC(B)   3.1.4 การประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง (Carrier’s Liability Insurance)
 ส่วนเงื่อนไขความคุ้มครอง ICC(C) จะมีความคุ้มครองแคบที่สุด ซึ่งผู้เอาประกันภัยควรจะเลือกเงื่อนไขความคุ้มครอง   การประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่งตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้มีเจตนาคุ้มครองความรับผิดของ

                                                                                                            ่
 ให้เหมาะสมกับประเภทของสินค้าที่จะขนส่ง   ผู้เอาประกันภัยในฐานะผู้รับขน (Carrier) ที่มีต่อของที่รับขนภายในประเทศไทยเท่านั้น ซึ่งอาจจะเป็นการขนสง
                                                                                                     ี
                                                                                                     ่
              ทางบกเช่น รถบรรทุก รถไฟ ทางเรือเช่น เรือโป๊ะ เรือลำเลียง และทางอากาศเช่น เครื่องบิน ในกรณีท ผู้รับจ้าง
 การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของสินค้า ผู้ซื้อสินค้า ผู้ขายสินค้า   ขนส่งสินค้าทางถนนซึ่งเริ่มต้นจากภายในประเทศไทย และต้องขับเข้าไปในชายแดนของประเทศเพื่อนบ้านซึ่งม ี

                                                                                                           ั
              อาณาเขตติดต่อกับประเทศไทย คือ ลาว กัมพูชา เมียนมา และมาเลเซีย หากผู้รับจ้างขนส่งต้องการที่จะได้รบ
 3.1.3 การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ (Inland Transit Insurance)    ความคุ้มครองความรับผิดจากการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ ก็สามารถติดต่อขอให้บริษัทประกันภัยขยาย
 เป็นการประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าระหว่างการขนส่งของผู้เอาประกันภัยที่เป็นเจ้าของสินค้า จาก      อาณาเขตความคุ้มครองสำหรับความรับผิดของผู้ขนส่งจากการใช้ยานพาหนะขนส่งเพื่อการขนส่งระหว่างประเทศได้

 ความสูญเสียหรือความเสียหายระหว่างการขนส่งจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งภายในประเทศไทย โดย  การประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง เป็นการประกันภัยที่คุ้มครองความรับผิดของผู้เอาประกันภัยซึ่งเป็น
                                                            ้
                                                             ี
                                                                                                           ั
 ยานพาหนะที่จดทะเบียนใช้บนท้องถนน รถไฟ เครื่องบิน หรือเรือ โดยเริ่มคุ้มครองตั้งแต่สินค้าวางอยู่บน  ผู้รับจ้างขนส่งตามกฎหมาย หรือตามสัญญาว่าจ้างที่ไดมการตกลงกันไว้ ยกเว้น ภัยธรรมชาติ เหตุสุดวิสัยสำหรบ
 ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง และตลอดระยะเวลาในระหว่างการขนส่ง จนกระทั่งสินค้าถึงปลายทางตามที่ระบุไว้   ความสูญหาย หรือความเสียหาย หรือส่งมอบชักช้าของของที่ผู้เอาประกันภัยในฐานะผู้รับขน ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่าง
 ทั้งแบบรายเที่ยวและรายปี    การขนส่งและในระหว่างระยะเวลาประกันภัย ตั้งแต่เมื่อของได้บรรทุกขึ้นไปยังยานพาหนะขนส่งจนกระทั่งสงมอบ
                                                                                                        ่
                                                                                                           ื
 การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศมีความคุ้มครองให้เลือกซื้อ 2 แบบ คือ      ของ และเป็นการขนส่งโดยยานพาหนะขนส่งที่ได้ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย รวมทั้งความสูญหายหรอ
 1) แบบคุ้มครองความเสี่ยงภัยทกชนิด (All Risks Basis) ให้ความคุ้มครอง   ความเสียหายของของที่เกิดขึ้นในระหว่างการดำเนินการขนขึ้นไปยังยานพาหนะขนส่ง และการขนถ่ายออกจาก
 ุ
   1.1 ความเสียหายหรือความสูญเสียโดยสิ้นเชิงหรือบางส่วนของสินค้าที่เอาประกันภัยอันเกิดจาก  ยานพาหนะขนส่ง ซึ่งกระทำโดยผู้เอาประกันภัย หรือตัวแทน หรือลูกจ้างของ ผู้เอาประกันภัย
 อุบัติเหตุหรือสาเหตุภายนอก

 ี
 ่
 1.2 ความเสียหายทั่วไป (General Average) ที่เกิดขึ้นกับสินค้าที่เอาประกันภัย รวมทั้งส่วนเฉลย        การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับผู้ประกอบการรับจ้างขนส่งซึ่งอาจเป็นบริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบุคคล
 ความเสียหายทั่วไป (General Average Contribution) และค่ากู้ภัย (Salvage Charges) ที่ผู้เอาประกันภัยจะต้อง  ธรรมดา ตลอดจนบริษัทโลจิสติกส์
 ชดใช้ตามประเพณีปฏิบัติ หรือตามกฎหมาย เว้นแต่ที่มีสาเหตุตกอยู่ภายใต้ข้อยกเว้น

                                                 ั
 2) แบบระบุภัย (Named Perils Basis) คุ้มครองความเสียหายหรือความสูญเสียโดยสิ้นเชิง หรือ     3.1.5  การประกันภัยความรบผิดของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง (Multimodal Transport
 บางส่วนของสินค้าที่เอาประกันภัยอันมีสาเหตุมาจาก   Operator’s Liability Insurance)
 2.1 อัคคีภัย การระเบิด หรือฟ้าผ่า      การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transport) เป็นการรับขนของโดยมีรูปแบบการขนส่งท ่ ี

                                                                                                           ึ
                                                                                                           ่
 ั
 2.2 ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง หรือสินค้าที่เอาประกันภัยประสบอุบัติเหตุชน หรือโดนกบ  แตกต่างกันตั้งแต่สองรูปแบบขึ้นไป ภายใต้สัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบฉบับเดียว โดยขนส่งจากสถานที่ซง
                                                                                                           ี
 ยานพาหนะอื่น หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดนอกยานพาหนะ รวมถึงหัวลากและหางลาก หรือรถพ่วงของยานพาหนะที่ใช้ใน  ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องได้รับมอบของในประเทศหนึ่งไปยังสถานที่ซึ่งกำหนดให้เป็นสถานที่ส่งมอบของในอก
 การขนส่งนั้นเอง   ประเทศหนึ่ง
    2.3 เรือจมหรือเกยตื้น เครื่องบินตก รถไฟตกราง รถรวมถึงหัวลากและหางลาก หรือรถพ่วงพลิกคว่ำ   การขนส่งที่แตกต่างกันตั้งแต่สองรูปแบบขึ้นไปภายใต้สัญญาฉบับเดียว ครอบคลุมการขนส่งตั้งแต่สถานท ี ่

 หรือตกถนน หรือตกสะพาน หรือตกไหล่ทาง   รับมอบของที่ต้นทาง จนถึงสถานที่ส่งมอบของที่ปลายทาง เช่น การขนส่งโดยรถบรรทุกกับการขนส่งทางทะเล
   2.4 ภัยเพิ่มพิเศษที่ได้ระบุไว้ชัดเจนในตารางกรมธรรม์ประกันภัย   (Road & Sea) หรือการขนส่งทางทะเลกับการขนส่งทางอากาศ (Sea & Air) หรือการขนส่งทางอากาศกับการขนส่ง

 ในกรณีที่มีการขนส่งสินค้าไม่บ่อยก็ควรจะเอาประกันภัยแบบรายเที่ยว แต่ถ้ามีการขนส่งสินค้าบ่อยควร  ทางรถไฟ (Air & Rail) หรือการขนส่งโดยรถบรรทุกกับการขนส่งทางอากาศ (Road & Air) หรือการขนส่งโดย

 จะเอาประกันภัยแบบกำหนดเวลา เช่น รายป ซึ่งจะได้รับความสะดวกและเสียเบี้ยประกันภัยถูกกว่าการเอาประกันภัย  รถบรรทุกกับการขนส่งโดยรถไฟ (Road & Rail) ซึ่งแม้รถบรรทุกและรถไฟจะเป็นการขนส่งโดยทางบก แต่ก็ถือเป็น
 ี
 แบบรายเที่ยวหลาย ๆ เที่ยวรวมกัน   การขนส่งที่มีรูปแบบต่างกันและเป็นการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบได้



    การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของสินค้า




                                       ิ
                                       ์
                                      ิ
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
                                                        ั
                                                  ั
                                                    ิ
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231