Page 230 - InsuranceHandbook
P. 230

บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย    211


 3.2.3  การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอกจากภัยสงคราม (ส่วนที่เกินจากกรมธรรม ์     การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอกสำหรับผู้ให้บริการด้านการบิน ใหความคุ้มครองความรับผิดตาม
                                                                                    ้
 ประกันภัยหลัก) (Aviation War, Hi-Jacking and Other Perils Excess Liability Insurance)   กฎหมายต่อบุคคลภายนอกจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานนั้น ซึ่งแยก
 ิ
    การประกันภัยแบบ 3.2.1 ความรับผิดชอบจะเกิดจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการปกต และไม่  ความคุ้มครองหลักออกได้ 3 ส่วน คือ
 เกี่ยวข้องกับการก่อการร้าย แต่จะมีวงเงินจำกัดความรับผิดเรื่องภัยการก่อการร้ายอยู่จำนวนหนึ่ง แต่การประกันภัย  1)  ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก อันมีสาเหตุมาจากสถานที่ที่เอาประกันภัยรวมถงอุปกรณ์เครื่องจักร
                                                                                             ึ
 แบบ 3.2.2 จะรับผิดชอบเฉพาะลำตัวอากาศยานจากเหตุการณ์ก่อการร้าย ดังนั้นความรับผิดชอบของการ  ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ (Premises Liability) ของผู้เอาประกันภัย และเป็นผลโดยตรงจากการให้บริการ หรือการ

 ประกันภัยแบบ 3.2.3 นี้จะเป็นความรับผิดต่อบุคคลภายนอกส่วนที่เกินจากวงเงินจำกัดความรับผิดการก่อการร้าย                   ประกอบธุรกิจของผู้เอาประกันภัย ซึ่งแยกออกเป็น
                                                                                                             ่
                                                                                                             ี
 ี
 ในการประกันภัยแบบ 3.2.1 แต่จะมวงเงินจำกัดความรับผิดจำนวนเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของ                   1.1)  ความเสียหายต่อทรัพย์สิน และความบาดเจ็บต่อร่างกายของบุคคลภายนอกในสถานที่ท
 ผู้ถือกรมธรรมประกันภัยหรือผู้ให้เช่า หรือสถาบันการเงินที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่ออุดช่องโหว่ของความรับผิดทั้งหมด  เอาประกันภัย และเป็นผลโดยตรงจากการให้บริการ หรือการประกอบธุรกิจของผู้เอาประกันภัย
 ์
 จากภัยก่อการร้าย            1.2)  ในที่อื่น ๆ ซึ่งอยู่ในขอบเขตธุรกิจของผู้เอาประกันภัย ซึ่งความเสียหายหรือการบาดเจ็บนั้นม ี
                                                                                                           ื
              สาเหตุจากความผิดพลาดหรือความบกพร่องของสถานที่ที่เอาประกันภัย ทางเดิน การทำงาน เครื่องจักรหรอ
    การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของหรือผู้ให้เช่าอากาศยาน   เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจของผู้เอาประกันภัย
                         2)  ความรับผิดต่อลูกค้าหรือบุคคลภายนอก อันมีสาเหตุมาจากการให้บริการ หรือฝีมือแรงงานของ
 3.2.4  การประกันภัยอุบัติเหตุของนักบินและลูกเรือ (Personal Accident Insurance for Air   ผู้เอาประกันภัยในขณะที่ทรัพย์สินหรือบุคคลอยู่ในความดูแลรับผิดชอบตามสัญญาการซ่อมบำรุงอากาศยาน

 Crews)       (Hangarkeeper’s Liability) โดยคุ้มครองความเสียหายต่อเครื่องบิน และอุปกรณ์ของลูกค้า หรือบุคคลภายนอกที่
    การประกันภัยแบบที่ 3.2.1 – 3.2.3 ข้างต้นจะไม่คุ้มครองนักบินและลูกเรือของผู้ประกอบการ ขอบเขตความ  นำเข้ามาซ่อมในขณะที่อยู่ในการดูแล รักษา และควบคุม ในระหว่างการซอม การให้บริการ การเก็บ โดยผู้เอาประกนภัย
                                                                                                         ั
                                                                         ่
 คุ้มครองสำหรับการเอาประกันภัยอุบัติเหตให้แก่นักบินและลูกเรือขึ้นอยู่กับความประสงค์ของเจ้าของสายการบน   โดยอาจจะขอให้ขยายความคุ้มครองไปถึงการนำเครื่องขึ้นทดสอบการบิน (Test Flight) ในระหว่างการซ่อมด้วย
 ุ
 ิ
 ่
                                                 ์
 หรือเจ้าของอากาศยาน อาจจะเป็นช่วงระหว่างปฏิบัติหน้าทเท่านั้น หรือคุ้มครองตลอด 24 ชั่วโมง ความคุ้มครอง  3)  ความรับผิดต่อผลิตภัณฑ (Products Liability) ซึ่งแยกออกเป็น
 ี
 หลักจะเป็นการสูญเสียชีวิต หรือทุพพลภาพ ตลอดจนค่ารักษาพยาบาล   3.1)  ความบาดเจ็บหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน อันสืบเนื่องมาจากความบกพร่องใน
                                         ุ
              การให้บริการ เปลี่ยน ซ่อมแซมอปกรณ์ หรือฝีมือแรงงาน และอะไหล่อากาศยานของลูกค้า ในขณะที่ทรัพย์สินหรือ
    การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของสายการบิน เจ้าของอากาศยาน นักบิน และ ลูกเรือ   บุคคลอยู่ในความดูแลรับผิดชอบตามสัญญาการซ่อม
                             3.2)  ความเสียหายต่อทรัพย์สินและความบาดเจ็บต่อร่างกาย อันเนื่องมาจากการครอบครอง การใช้
                                                                 ิ
                                             ิ
 3.2.5  การประกันภัยการถูกถอนใบอนุญาตการบิน (Aviation Loss of Licence Insurance)   การบริโภค หรือการดำเนินการของสนค้า หรือผลิตภัณฑ์ที่ผลต สร้าง เปลี่ยนแปลง ซ่อมแซม ให้บริการบำบัด ขาย
 ็
    ธุรกิจการบินในปัจจุบันมีการจัดทำประกันภัยประเภทนี้เป็นสวัสดิการให้แก่กลุ่มนักบิน โดยสายการบินเปน  หรือจำหน่ายจ่ายแจกโดยผู้เอาประกันภัย แต่ทั้งนี้ความครอบครองจะจำกัดอยู่เพียงสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ซึ่งถือเป็น
 ั
 ผู้ดำเนินการและออกค่าเบี้ยประกันภัยทั้งหมด หรือออกค่าเบี้ยประกันภัยบางส่วนและให้นกบินสมทบเองบางส่วน   ส่วนหนึ่งหรือใช้เกี่ยวเนื่องกับเครื่องบิน และสินค้าหรือผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ได้พ้นจากการดูแลรักษา หรือควบคุมของ
 ในบางประเทศสมาคมนักบิน หรือสหภาพนักบินได้ร่วมมือกันจัดประกันภัยในกลุ่มของตนเอง อนึ่ง นักบินสามารถ  ผู้เอาประกันภัยไปแล้วเท่านั้น
 ิ
 ซื้อประกันภัยรายเดี่ยวเพื่อเป็นหลักประกันของตนเองก็ได้ ความคุ้มครองหลักจะเป็นการชดเชยตามจำนวนเงน
                                                                                                           ิ
 เอาประกันภัย กรณีนักบินถูกถอนใบอนุญาตการบินจากการไม่สามารถปฏิบัติการบินได้ ไม่ว่าจากเหตุความเจ็บป่วย      การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับผู้ให้บริการด้านการบิน ได้แก่ ผู้บริหารสนามบิน เจ้าของสนามบน
 หรือจากอุบัติเหตุก็ตาม   ผู้ให้บริการการจราจรทางอากาศ ผู้ให้บริการเติมน้ำมันเชื้อเพลิงการบิน ศูนย์ซ่อมบำรุงอากาศยาน ผู้ให้บริการ

              จัดเตรียมอาหาร ผู้ให้บริการด้านการทำความสะอาดอากาศยาน ผู้ให้บริการด้านภาคพื้นดิน
    การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับเจ้าของสายการบิน สมาคมนักบิน สหภาพนักบิน และตัวนักบินเอง
                      3.2.7 การประกันภัยโดรน (Drone Insurance)
                                                                                                            ั
                                                       ั
                                                                                                           ี
                                                                                                            ้
                      โดรน (Drone) หรืออากาศยานซึ่งไม่มีนกบิน (Unmanned Aerial Vehicle: UAV) เป็นอากาศยานที่มทง
 3.2.6  การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอกสำหรับผู้ให้บริการด้านการบิน (Aviation   แบบที่สามารถควบคุมการบินจากภายนอก และแบบที่บินได้ด้วยตัวเองโดยอาศัยการโปรแกรมที่เป็นระบบ ซึ่งใน
 Premises, Hangarkeepers and Products Liability Insurance)   ปัจจุบันนี้ โดรนเริ่มได้รับความนิยมเป็นอย่างมากไม่ว่าจะเพื่อใช้ช่วยชีวิต ใช้ในการถ่ายภาพมุมสูง ถ่ายภาพยนตร  ์
 ี
    การประกันภัยนครอบคลุมกิจกรรมที่หลากหลายเกี่ยวกับการปฏิบัติการในสนามบิน (Airport Operations)   ถ่ายภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ใช้ส่งสินค้า ใช้ในการบินสำรวจหรือทำแผนที่ ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
 ้
 ตั้งแต่การควบคุมการจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control) การให้บริการจัดเตรียมอาหาร (Catering Service)     ตามประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง หลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการบังคับหรือปล่อยอากาศ
 การทำความสะอาดอากาศยาน (Aircraft Cleaning) การบำรุงรักษา (Maintenance) การให้บริการเติมน้ำมันเชื้อเพลิง   ยานซึ่งไม่มีนักบิน ประเภทอากาศยานที่ควบคุมการบินจากภายนอก พ.ศ. 2558 อนุญาตให้เฉพาะ“อากาศยานท ี ่
 (Refuelling) การให้บริการซ่อมบำรุงอากาศยาน (Repair Service) และการให้บริการภาคพื้นดิน (Ground   ควบคุมการบินจากภายนอก” โดยให้ความหมายว่า “อากาศยานที่ควบคุมการบินโดยผู้ควบคุมการบินอยู่ภายนอก
 Handling Service)   อากาศยานและใช้ระบบควบคุมอากาศยาน ทั้งนี้ ไม่รวมถึงเครื่องบินเล็กซึ่งใช้เป็นเครื่องเล่นตามกฎกระทรวง
              กำหนดวัตถุซึ่งไม่เป็นอากาศยาน พ.ศ. 2548”  โดยกำหนดให้อากาศยานที่ควบคุมการบินจากภายนอกที่มีน้ำหนัก
              เกินกว่า 2 กิโลกรัมขึ้นไปที่ใช้เพอวัตถุประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในประกาศฯ นี้ ต้องมีการทำประกันภัยสำหรับความ
                                        ื่
                                   ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
                                                    ิ
                                       ิ
                                       ์
                                                  ั
                                                        ั
                                      ิ
                                    ิ
                                                             ้
                                                               ํ
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235