Page 262 - InsuranceHandbook
P. 262
บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย 243
์
นอกเหนือจากความคุ้มครองหลักที่ได้อธิบายข้างต้น ผู้เอาประกันภัยยังสามารถจะขอให้บริษัทประกันภัย การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับสถาบันการเงินต่าง ๆ เช่น ธนาคาร บริษัทหลักทรัพย บริษัทหลักทรัพย์จัดการ
พิจารณาขยายความคุ้มครองเพิ่มเติมต่าง ๆ เช่น การถูกฟ้องร้องหรือเรียกร้องให้รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวกับการจ้าง กองทุนรวม บริษัทประกันภัย บริษัทลิสซิ่ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำนักงานประกันสังคม เป็นต้น
งาน (Employment Practice Liability Claim) ความรับผิดของบริษัทสำหรับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนใน
ส่วนที่เกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัท (Entity Security Claim) เป็นต้น 5.4 การประกันภัยการบริหารการลงทุน (Investment Management Insurance: IMI)
เป็นการประกันภัยซึ่งจะคุ้มครองความเสี่ยงของผู้ประกอบธุรกิจด้านการจัดการการลงทุนในตลาด
ิ
่
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และบริษัททมีแผนจะจดทะเบียนใน หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจกองทุนรวม กลุ่มธุรกิจกองทุนส่วนบุคคล และกลุ่มธุรกจ
ี
้
ตลาดหลักทรัพย์ หรือบริษัทที่ต้องการปองกันความเสี่ยงจากการบริหารงานที่มีโอกาสถูกเรียกร้องค่าเสียหาย จาก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ที่อาจจะถูกนักลงทุนฟ้องในกรณีที่เกิดความผิดพลาดในการบริหารงาน และ/หรือการ
ลูกจ้าง ผู้ถือหุ้น หรือหน่วยงานรัฐ ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการลงทุน โดยแบ่งความคุ้มครองออกได้ 3 ส่วนหลัก ๆ คือ
่
1) ความรับผิดจากการประกอบวิชาชีพ (Professional Indemnity) ซึ่งเป็นความรับผิดทางแพง
ิ
ื
5.2 การประกันภัยความเสียหายจากอาชญากรรมทางการเงิน (Banker’s Blanket Bond: BBB) (Civil Liability) จากการละเมิด หรอการกระทำผด (Wrongful Act) ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการลงทุน (Investment
เป็นการประกันภัยที่ป้องกันผลกระทบของการสูญเสียหรือความเสียหายที่รุนแรงของสถาบันการเงินและ Service) ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษา หรือผู้จัดการการลงทุนโดยได้รับค่าตอบแทน
ธนาคารอันเกิดจากการทุจริตของพนักงาน การปลอมแปลง และการเปลี่ยนแปลงเอกสารทางการเงินที่นำไปใช้ 2) ความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่บริหาร (Directors and Officers Liability) ซึ่ง
กระทำผิดทางกฎหมาย รวมถึงการสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินของสถาบันการเงิน และธนาคารใน เกิดขึ้นจากการละเมิดหรือการกระทำผิด (Wrongful Act) ในฐานะที่เป็นกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร โดย
ระหว่างการดำเนินงานของทางธนาคารเอง แยกการคุ้มครองออกได้ 2 ส่วนย่อย คือ
ความเสี่ยงภัยที่ได้รับความคุ้มครอง เช่น 2.1) การคุ้มครองความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่บริหาร (Directors and Officers Liability
1) ความเสียหายทางการเงินที่เกิดจากการทุจริตของพนักงาน Coverage) รายบุคคล
2) การสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินภายในสถานที่ของสถาบันการเงิน 2.2) การคุ้มครองเพื่อชดใช้ค่าเสียหายคืนให้แก่บริษัท (Company Reimbursement Coverage)
3) การสูญหายหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินระหว่างการขนส่ง รวมถึงการโจรกรรมหรือการทำลาย 3) อาชญากรรม (Crime Protection) เพื่อปกป้องผู้จัดการการลงทุนและกองทุนสำหรับความเสียหาย
ทรัพย์สินระหว่างการขนส่ง ทางการเงินโดยตรง (Direct financial loss) ที่เกิดขึ้นจากการกระทำที่ไม่ซื่อสัตย์สุจริต (Dishonest act) โดย
4) ความเสียหายที่เกิดจากการปลอมแปลงเช็ค พนักงานของผู้เอาประกันภัย หรือการโจรกรรมโดยบุคคลภายนอก เช่น อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer
5) ความเสียหายจากการปลอมแปลงหลักทรัพย์และตราสารที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน crime) การปลอมแปลงเอกสาร เป็นต้น
6) ความเสียหายที่เกิดจากสกุลเงินปลอม การประกันภัยในส่วนที่ 1) และ 2) ยังครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คดีด้วย
7) ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สินภายในสถานที่ของสถาบันการเงิน อันเป็นผลมาจากการกระทำที่ผิด
กฎหมายโดยบุคคลภายนอก การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับธนาคารซึ่งมีหน่วยงานให้บริการคำปรึกษาการลงทุน บริษัทหลักทรัพย ์
จัดการกองทุนรวม บริษัทจัดการลงทุน
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับธนาคาร และสถาบันการเงินต่าง ๆ เช่น บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์
จัดการกองทุนรวม สำนักงานประกันสังคม เป็นต้น 5.5 การประกันภัยสินเชื่อทางการค้า (Trade Credit Insurance)
การประกันภัยสินเชื่อทางการค้า เป็นการประกันภัยซึ่งจะทำให้ผู้ขายสินค้ามีความมั่นใจในการทำธุรกิจมาก
5.3 การประกันภัยความรับผิดทางด้านวิชาชีพของสถาบันการเงิน (Financial Institutions ขึ้น และเป็นการโอนความเสี่ยงของการเกิดหนี้สูญไปให้บริษัทประกันภัยรับภาระความเสี่ยงไว้แทน
Professional Indemnity Insurance: FIPI) การประกันภัยสินเชื่อทางการค้าให้ความคุ้มครองแก่ผู้ขายหรือผู้ส่งออกซึ่งเป็นผู้เอาประกันภัย ในกรณีที่ส่ง
ื
้
ู
การประกันภัยความรับผิดทางด้านวิชาชีพของสถาบันการเงิน ออกแบบเป็นพิเศษเพื่อให้สอดคล้องกบ สินค้าไปยังผู้ซื้อแล้วปรากฏว่าผู้ขายไม่ได้รับชำระค่าสินค้าจากผ้ซื้ออันเนื่องมาจากความเสี่ยงทางการค้า เช่น ผู้ซอ
ั
ิ
ิ
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่มีความสลับซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อคุ้มครองความรับผิดทางด้านวิชาชีพ ล้มละลาย ผู้ซื้อปฏิเสธการชำระเงน เป็นต้น สำหรับการขายสนค้าไปต่างประเทศจะรวมถึงความเสี่ยงทางการเมือง
ั
ของสถาบันการเงินและบริษัทย่อยของสถาบันการเงิน รวมทั้งบุคคลตามที่สถาบันการเงินกำหนด จากการปฏิบัติ เช่น การห้ามโอนเงินออกนอกประเทศ การประกาศพกชำระหนี้ต่างประเทศจากประเทศผู้ซื้อ การปฏิเสธการชำระ
หน้าที่ตามวิชาชีพให้กับสถาบันการเงินและบริษัทย่อยของสถาบันการเงินสำหรับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ซึ่ง หนี้โดยหน่วยงานรัฐบาล การห้ามนำเข้าสินค้า การยกเลิกใบอนุญาตนำเข้า การเกิดสงคราม การปฏิวัติ รัฐประหาร
่
เกิดขึ้นจากการกระทำ (Act) ความผิดพลาด (Error) การละเลย (Omission) การละเลยหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การจลาจล เป็นต้น ซึ่งบริษัทประกันภัยจะเป็นผู้จ่ายค่าสินไหมทดแทนสำหรับค่าสินค้าที่ไม่ได้รับชำระนั้นให้แก
ี
่
(Breach of duty) การทำผิดหน้าที่ทได้รับมอบหมาย (Breach of trust) การละเมิดอำนาจ (Breach of authority) ผู้เอาประกันภัย
การกล่าวบิดเบือน (Misstatement) หรือการแสดงข้อความที่ทำให้เข้าใจผิด (Misleading statement) โดยสถาบัน
ี
้
การเงินขณะที่กำลังปฏิบัติหน้าที่ หรือการไม่ปฏิบัติหน้าที่ในการให้บริการทางวิชาชีพ การประกันภัยนเหมาะสำหรับผู้ประกอบธุรกิจค้าขาย ไม่ว่าจะเป็นการค้าขายภายในประเทศหรือค้าขาย
การประกันภัยนี้ให้ความคุ้มครองสถาบันการเงินและบริษัทในเครือทั้งในอดีตและปัจจุบัน ตลอดจน ระหว่างประเทศ
กรรมการ เจ้าหน้าที่บริหารและพนักงานทั้งหมด ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คดี
ํ
ิ
์
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ิ
ั
้
ั
ิ