Page 260 - InsuranceHandbook
P. 260
บทที่ 18 ประเภทของการประกันวินาศภัย 241
ั
ิ
ของโรคมะเร็งเป็นครั้งแรกภายใน 90 วันนับจากวันที่กรมธรรม์ประกันภัยเร่มมีผลบังคับคร้งแรก (เฉพาะกรมธรรม ์ ต้องเป็นต่อเนื่องติดต่อกันไม่น้อยกว่า 180 วัน หรือมีข้อบ่งชีทางการแพทย์ชัดเจนว่าจะไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตร
้
ประกันภัยปีแรก) เป็นต้น ประจำวันดังกลาวได้อีก บริษัทประกันภัยจะจ่ายค่าทดแทนให้ผ้เอาประกันภัยตามจำนวนเงินเอาประกันภัยที่ซื้อไว้
่
ู
โดยมการประกันภัยการดูแลระยะยาวให้เลือกซื้อ 2 ประเภท คือ
ี
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับบุคคลทั่วไป 1) การประกันภัยการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอาย (กรณีจ่ายค่าทดแทนเป็นรายเดือน) ซึ่งจะจ่าย
ุ
4.4.14 การประกันภัยคุ้มครองการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever ต่อเนื่องสูงสุดไม่เกินจำนวนเดือนที่ระบุไว้ในหน้าตารางกรมธรรม์ประกันภัย เช่น 24 หรือ 36 เดือน เป็นต้น
ิ
Insurance) 2) การประกันภัยการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ (กรณีจ่ายค่าทดแทนเต็มจำนวนเงน
โรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever) หมายถึง โรคติดต่อซึ่งมีผลต่อระบบเลือด เกิดจาก เอาประกันภัย)
ี
เชื้อไวรัสเด็งกี่ (Dengue Virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ผู้ป่วยมักจะมีอาการไข้ขึ้นสูงโดยไม่ทราบสาเหต ุ ตามเงื่อนไขของการประกันภัยการดูแลระยะยาว มระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง (Waiting Period) ซึ่ง
ชัดเจน มีผื่นหรือจุดแดงของเลือดออกตามผิวหนัง เกล็ดเลือดและเม็ดเลือดขาวต่ำ อาจมีอาการถึงช็อค เนื่องจาก หมายความถึงระยะเวลา 90 วันหลังจากที่กรมธรรม์ประกันภัยมีผลบังคับเป็นครั้งแรก โดยจะใช้บังคับเฉพาะกรณ ี
ภาวะเลือดออกอวัยวะภายในร่างกาย ทั้งนี้ ต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์อย่างชัดเจนและมีผลตรวจเลือด การไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเจ็บป่วยเท่านั้น
และ/หรือผลการตรวจจากห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยัน การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
การประกันภัยคุ้มครองการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ความคุ้มครองผู้เอาประกันภัย 2 ประการ คือ
1) ความคุ้มครองการรักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยใน (IPD) และกรณีผู้ป่วยนอก (OPD) 5. ผลิตภัณฑ์ประกันภัยพิเศษ (Special Insurance Products)
หากผู้เอาประกันภัยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และต้องเข้ารบ
ั
ิ
การรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน (IPD) หรือผู้ป่วยนอก (OPD) ของโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลเวชกรรม หรอ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยพิเศษเป็นแบบประกันภัยที่เหมาะสำหรับผู้เอาประกันภัยซึ่งส่วนมากเป็นองค์กรธุรกจ
ื
คลินิก บริษัทประกันภัยจะจ่ายค่าทดแทนสำหรับค่าใช้จ่ายที่จำเป็นและสมควร ซึ่งเกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาล ขนาดใหญ่ หรือผู้ที่มีความเสี่ยงพิเศษและต้องการความคุ้มครองพิเศษที่ออกแบบเฉพาะราย ผลิตภัณฑ์ประกันภัย
ตามความจำเป็นทางการแพทย์และมาตรฐานทางการแพทย์ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการ พิเศษส่วนมากอยู่ในการประกันภัยเบ็ดเตล็ด และการประกันภัยทางทะเลและขนส่งบ้าง
พยาบาล ค่าบริการทั่วไป หรือค่ายา เป็นต้น ตามจำนวนเงินที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินจำนวนเงินเอาประกันภัยตามที่ระบุ 5.1 การประกันภัยความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่บริหาร (Directors and Officers
ไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย Liability Insurance: D&O)
ั
2) ความคุ้มครองค่าชดเชยรายวันระหว่างรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน (IPD) ของโรงพยาบาล หรือ เป็นการประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองกรรมการ (Directors) และเจ้าหน้าที่ระดับสูง หรือเจ้าหน้าที่ระดบ
ิ
ั
สถานพยาบาลเวชกรรม บริหาร (Executive Officers) ของบริษัท สำหรับความสูญเสียหรือค่าเสียหายทางการเงิน อนเนื่องมาจากการละเมด
ตามความจำเป็นทางการแพทย์และมาตรฐานทางการแพทย์ บริษัทประกันภัยจะจ่ายค่าชดเชย หรือการกระทำผิด (Wrongful Act) ที่กรรมการหรือเจ้าหน้าที่ของบริษัทต้องรับผิดตามกฎหมาย
รายวันให้ผู้เอาประกันภัยตามจำนวนวันที่เข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในดังกล่าวแต่สูงสุดไม่เกินจำนวนวันที่ระบุไว้ การประกันภัยความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่ มีความคุ้มครองหลักอยู่ 2 ส่วน (ซึ่งไม่สามารถแยก
้
ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง ซื้อความคุ้มครองได) ดังนี้
ความคุ้มครองส่วนที่ 1 การคุ้มครองความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่บริหาร (Directors and
อย่างไรก็ตาม การประกันภัยคุ้มครองการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมีเงื่อนไขสำคัญที่ควรทราบ คือ Officers Liability Coverage) ผู้รับประกันภัยจะเป็นผู้รับผิดชอบความสูญเสียต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับกรรมการหรือ
(1) ไม่คุ้มครองกรณีที่ผู้เอาประกันภัยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เจ้าหน้าที่แทนกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ โดยให้ความคุ้มครองความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่แต่ละคน
้
(รวมถึงภาวะแทรกซ้อน) ภายในระยะเวลา 15 วัน หรือ 30 วัน (Waiting Period) (แล้วแต่เงื่อนไขของ ความคุ้มครองส่วนที่ 2 การคุ้มครองเพื่อชดใชค่าเสียหายคืนให้แก่บริษัท (Company Reimbursement
ี
บริษัทประกันภัยแต่ละแห่ง) นับจากวันที่กรมธรรม์ประกันภัยเริ่มมีผลบังคับเป็นครั้งแรก Coverage) ผู้รับประกันภัยรับผิดชอบชดใช้คืนความสูญเสยต่าง ๆ ที่บริษัทต้องรับผิดตามกฎหมายแทนกรรมการ
ี
่
(2) ไม่คุ้มครองการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever) (รวมถึง หรือเจ้าหน้าที่ หรือได้ชําระแทนกรรมการหรือเจ้าหน้าทไปก่อนแล้ว โดยให้ความคุ้มครองจำนวนเงินในส่วนของ
ภาวะแทรกซ้อน) ที่เกิดขึ้นกับผู้เอาประกันภัยก่อนวันที่กรมธรรม์ประกันภัยนี้มีผลบังคบ และยังมิได้รักษาให ้ บริษัทที่กรรมการ และเจ้าหน้าที่ทำงานให้โดยได้รับอนุญาตตามกฎหมายหรือข้อผูกพันที่จะต้องชดใช้ในการต่อสู้ข้อ
ั
หายขาด เรียกร้อง หรือตกลงยอมความสำหรับการเรียกร้องค่าเสียหายที่กระทำต่อกรรมการและเจ้าหน้าที่นั้น
ี
่
การละเมิดหรือการกระทำผิด (Wrongful Act) ของกรรมการและเจ้าหน้าทที่จะได้รับความคุ้มครองตาม
การประกันภัยนี้เหมาะสำหรับบุคคลทั่วไป กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของกรรมการและเจ้าหนาทไม่มีการจำกัดไว้ว่าต้องมีลักษณะอย่างใดบ้าง แต่โดยทั่ว ๆ
่
ี
้
4.4.15 การประกันภัยการดูแลระยะยาว (Long Term Care Insurance) ไปหมายรวมถึง (แต่ไม่จำกัดเพียง) การผิดพลาด (Error) การแถลงข้อความผิดพลาด (Misstatement) การแถลง
เป็นการประกันภัยที่ให้ความคมครองผู้เอาประกันภัยในด้านความเสี่ยงจากความพการอนเนื่องมาจาก ข้อความที่ทำให้เข้าใจผิด (Misleading statement) การกระทำในสิ่งที่ไม่ควรกระทำหรือการละเว้นไม่กระทำในสิ่ง
ุ้
ั
ิ
้
ู
การเข้าสู่วัยสูงอายุ (Aging Risk) โดยให้ความคุ้มครองกรณีที่ผเอาประกันภัยได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ว่าไม ่ ที่ควรทำ (Act or Omission) การประมาทเลินเล่อ (Neglect) การกระทำผิดหน้าที่ (Breach of Duty) ทั้งที่ได ้
่
ี
สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองและต้องได้รับการช่วยเหลือจากผู้อื่น อย่างน้อย 3 ใน 6 อย่าง กระทำแล้ว หรือพยายามกระทำ หรือที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำ หรือพยายามกระทำของกรรมการและเจ้าหน้าที่ท
ประกอบด้วย การเปลี่ยนจากนอนไปนั่ง การเดิน การแต่งกาย การอาบน้ำชำระล้างร่างกาย การรับประทานอาหาร เอาประกันภัย โดยต้องเป็นการกระทำที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ที่มีต่อบริษัท (In the
การขับถ่าย ซึ่งการไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันดังกล่าวได้เริ่มขึ้นเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง และ Insured’s capacity as a Director or Officer for the Corporation) เท่านั้น ดังนั้นการกระทำหรือการละเว้น
ไม่กระทำที่จะได้รับความคุ้มครองจึงพิจารณาจากอำนาจหน้าที่ของบุคคลผู้เอาประกันภัยก่อนเป็นสำคัญ
ลขสทธของสมาคมประกนวนาศภยไทย หามนาไปใช้ในการแสวงหากําไรทางการคา ้
ิ
ั
้
ั
ิ
ิ
ิ
ํ
์