Page 33 - InsuranceJournal122
P. 33
สรรหามาเล่า
ผู้สูงอายุไทย
เป็นอยู่
อย่างไร?
โดย ส�านักวิจัยและสถิติ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ากัด (มหาชน)
ี
บทความตอนท่แล้ว ได้กล่าวถึงการเปล่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของ
ี
ิ
ี
ประเทศในกลุ่มประชาคมเศรษฐกจอาเซียน ท่มีแนวโน้มเป็นไปในลกษณะท ่ ี
ั
ี
�
ึ
ั
ั
�
คล้ายคลึงกัน และมิได้ต่างไปจากสภาวะท่กาลังเกิดข้นในหลายๆ ประเทศท่วโลก สาหรับสถานการณ์ในประเทศไทยน้น
�
ี
ึ
การเป็นสังคมผู้สูงอายุกาลังจะเปล่ยนแปลงไปอีกระดับหน่งท่เรียกกันว่า “สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด” ในอีกเพียง
ี
20 ปีข้างหน้า นั่นก็คือ ประเทศจะมีประชากรวัย 65 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนมากกว่า 20% ของจ�านวนประชากรทั้งหมด
หรือ การที่ประชากรไทยทุกๆ 10 คน จะมีผู้ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไปจ�านวนอย่างน้อย 2 คนในปี พ.ศ. 2576
แต่ก่อนท่จะไปถึงเวลาดังกล่าว เราลองหันมาดูสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และสุขภาพ จากข้อมูล
ี
ื
สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2555 เพ่อท่จะเป็นข้อมูลพ้นฐานไว้ใช้ในการเตรียมตัวรับมือกับสภาวะการเปล่ยนแปลงท่กาลังจะ
�
ี
ื
ี
ี
เกิดขึ้นในอนาคตอันไม่ไกลนี้
สถานการณ์ปัจจุบัน
ในปี พ.ศ. 2537 ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุ 4 ล้านคน และได้เพิ่มขึ้นเป็น 6.2 ล้านคนในอีก 10 ปีต่อมา (พ.ศ. 2547) ซึ่ง
ในปีนี้เอง เป็นจุดเริ่มต้นของประเทศไทยในการเข้าสู่สังคมสูงอายุ (จ�านวนผู้สูงอายุคิดเป็น 10% ของประชากรทั้งประเทศ) สัดส่วน
�
ึ
ึ
ิ
ดังกล่าว ยังคงเพ่มข้นอย่างต่อเน่อง จนในปี พ.ศ. 2554 จานวนผู้สูงอายุไทยได้ขยายตัวมากข้นเป็น 8.3 ล้านคน หรือเพ่มข้นมากกว่า
ึ
ื
ิ
ี
เท่าตัวในช่วงระยะเวลาเพียง 17 ปี เป็นท่น่าสังเกตว่า ผู้สูงอายุหญิงมีสัดส่วนสูงกว่าผู้สูงวัยท่เป็นชาย โดยผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่แล้ว
ี
อยู่ในวัยต้น (61-70 ปี) มากถึง 58% รองลงมาคือ วัยกลาง (71-80 ปี) คิดเป็น 32% และ 10% ที่เหลือเป็นวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป)
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล และมีถิ่นพ�านักอยู่ในภาคอีสานมากที่สุด คิดเป็น 34% รองลงมาคือ ภาคกลาง 23%
และภาคเหนือ 20% ส่วนในกรุงเทพมหานครมีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ประมาณ 10%
แผนภูมิที่ 1: สัดส่วนผู้สูงอายุจ�าแนกตามเพศ แผนภูมิที่ 2: การอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ จ�าแนกตามภาค
หน่วย: ล้านคน 8.26 อีสาน 34.1%
7.02
5.97 4.62 กลาง 23.2%
3.89
4.01 3.24 เหนือ 20.3%
2.21
2.73 3.13 3.64 ใต 12.6%
1.80
2537 2545 2550 2554 กทม. 9.9%
ชาย หญิง
วารสารประกันภัย มกราคม-มีนาคม 2557 33