Page 35 - InsuranceJournal122
P. 35
รายได้
่
ี
�
ผู้สูงอายุประมาณ 33% มีรายได้เฉล่ยต่อปีตากว่า 20,000 บาท โดยผู้สูงอายุวัยต้น มีรายได้มากกว่าผู้สูงอายุวัยอ่นๆ เน่องจาก
ื
ื
ยังคงสามารถที่จะท�างานหาเงินได้อยู่ โดย 35% ของผู้สูงอายุวัยต้นมีรายได้มากกว่า 60,000 บาทต่อปี จะเห็นได้ว่า ยิ่งอายุมากขึ้น
รายได้ก็จะหดตัวน้อยลง
แหล่งรายได้
ส�าหรับแหล่งรายได้หลักในการด�ารงชีวิตของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มาจากบุตรและบุตรบุญธรรม รองลงมาคือจากการท�างาน
ของผู้สูงอายุเอง และเบี้ยยังชีพจากทางราชการ ตามล�าดับ
ความเพียงพอของรายได้ต่อค่าใช้จ่าย
แผนภูมิที่ 4: ความเพียงพอของรายได้ต่อค่าใช้จ่ายของผู้สูงอายุ
เกินเพียงพอ เพียงพอ เพียงพอเปนบางครั้ง ไมเพียงพอ หนวย: %
15.7 15 16.9 15.9 12.9 17.1 12.9 13.3 15 20.3 11
22.8 24.2 22.1 17.5 18.4 25.1 16.7 21.8 23.4 15
27.9
57.8 57.1 57.4 62.7 62.7 55.3 61.8 61.2 59.5 49.7 67.1
3.7 3.7 3.6 3.9 6 2.5 8.6 3.7 2.1 2.1 6.9
รวม วัยตน วัยกลาง วัยปลาย ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล กทม. กลาง เหนือ อีสาน ใต
รายได้ที่ผู้สูงอายุได้รับมาเพียงพอต่อค่าใช้จ่ายในชีวิตประจ�าวันเป็นส่วนใหญ่ ถึง 60% มีเพียงบางส่วนที่รายได้ไม่เพียงพอ
ิ
ื
ี
ี
ี
เป็นคร้งคราว เม่อพิจารณาถ่นฐานท่อาศัยอยู่ประกอบด้วยแล้ว พบว่า ผู้สูงอายุท่อยู่นอกเขตเทศบาล มีแนวโน้มสูงท่จะมีรายได้
ั
ไม่เพียงพอ เมื่อเทียบกับผู้สูงอายุที่อาศัยในเขตเทศบาล ในขณะที่ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาคอีสานมักจะมีรายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย
แผนภูมิที่ 5: การอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ
การออม
72.8 หนวย: %
65.7
59.4 56.7
ผู้สูงอายุเกือบ 2 ใน 3 ไม่มีการออม รวมถึง
ื
ื
ึ
ิ
ย่งอายุมากข้น เงินออมก็ย่งลดลงไปเร่อยๆ เน่องจาก
ิ
ี
ต้องนาเงินออมออกมาใช้จ่าย แต่ยังดีท่ผู้สูงอาย ุ
�
็
ั
ส่วนใหญ่ ยงคงอาศัยอยู่กบบุตร อย่างไรกตาม 11.6 14 16.3 17.6
ั
ั
ี
ั
ุ
ู
การอาศยอย่กบบตรมสดส่วนลดลงเมอเทยบกบ
ั
ี
ื
่
ั
ี
อดีตท่ผ่านมา โดยผู้สูงอายุมีแนวโน้มท่จะอยู่ลาพัง 3.6 6.5 7.6 8.6
�
ี
กับคู่สมรสและอยู่คนเดียวเพิ่มมากขึ้น 2537 2545 2550 2554
อยูกับบุตร อยูคนเดียว อยูลำพังกับคูสมรส
วารสารประกันภัย มกราคม-มีนาคม 2557 35