Page 34 - InsuranceJournal122
P. 34
การศึกษา
การศึกษาเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส�าคัญต่อการอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุ เพราะการอ่านและเขียนได้เป็นโอกาสที่ส�าคัญในการเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสาร รวมถึงโอกาสในการท�างาน ผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่ประมาณ 90% ส�าเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา และ
ิ
ี
ิ
ึ
ี
ึ
มีแนวโน้มท่ว่า อายุย่งมาก การศึกษาย่งน้อย ซ่งผู้สูงอายุวัยปลายหรือผู้ท่มีอายุ 80 ปีข้นไป ไม่ได้รับการศึกษามากถึง 27%
ั
หากพิจารณาเพศประกอบด้วยแล้วก็จะพบว่า ผู้สูงอายุชายมีโอกาสในการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุหญิง รวมท้งยังมีการศึกษาท ี ่
สูงกว่าอีกด้วย โดยผู้สูงอายุชายส�าเร็จการศึกษาสูงกว่าระดับประถมศึกษา 15% ในขณะที่ผู้สูงอายุหญิงเพียง 7% เท่านั้น ที่ได้รับ
การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาเป็นอย่างน้อย
แผนภูมิที่ 3: การศึกษาของผู้สูงอายุ
หน่วย: %
% 100 7.4 อื่นๆ
90 15.0
การศึกษาทางศาสนา
80
สูงกวาป.ตรี
70
60.5 ป.ตรี
60 70.7 73.9 71.5
50 75.7 ปวส./ปวท./อนุปริญญา
ม.ปลาย/ปวช.
40
ม.ตน
30 6.8
ประถมศึกษา
20
6.9 26.8 5.5
10 3.2 14.4 3.7 15.5 ต่ำกวาป.4
0 7.8 7.1 ไมมีการศึกษา
วัยตน วัยกลาง วัยปลาย ชาย หญิง
การท�างาน
�
�
ี
ผู้สูงอายุเกือบ 3.4 ล้านคน (40%) ยังคงทางานอยู่ โดยจะเป็นผู้ท่ทางาน
เป็นแรงงานในระบบ 3.5 แสนคน ( 10.3%) และเป็นแรงงานนอกระบบ 3
�
ล้านคน (89.7%) อย่างไรก็ตาม เม่ออายุมากข้น การทางานก็เร่มจะน้อยลง
ื
ึ
ิ
�
ั
น่นก็คือ ผู้สูงอายุวัยต้น ยังคงทางานอยู่ 1.5 ล้านคน (60%) ของผู้สูงอาย ุ
�
ี
ในวัยเดียวกัน แต่ในขณะท่ผู้สูงอายุวัยปลายทางานเพียง 6 หม่นคน (5.7%)
ื
ของผู้สูงอายุวัยปลายเท่าน้น โดยอาชีพหลักของผู้สูงอายุจะอยู่ในภาคเกษตร
ั
และประมงถึง 60% รองลงมาคือ การให้บริการหรือขายของ และการทางาน
�
ฝีมือ ตามล�าดับ
34 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 122