Page 4 - InsuranceJournal129
P. 4
เรื่องเด่น
สัมมนาการประกันภัย
ครั้งที่ 25
“Digitalization for the
Thai Insurance Industry”
โดย นายทศพล ศรีสังข์ เจ้าหน้าที่อาวุโส ฝ่ายวิชาการทั่วไป
และนายธีรสิทธิ์ ประพจนาภรณ์ เจ้าหน้าที่ ฝ่ายวิชาการประกันภัย
สมาคมประกันวินาศภัยไทย
ั
สมาคมประกันวินาศภัยไทย ได้จัดสัมมนาการประกันภัยคร้งท่ 25 ข้น โดยเป็นการสัมมนาระหว่างผู้บริหารระดับสูงของบริษัทประกัน
ี
ึ
�
ี
วินาศภัยทุกบริษัท และผู้เก่ยวข้องกับธุรกิจประกันวินาศภัย ประกอบด้วยสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภย
�
ั
ั
ื
(คปภ.) ตัวแทนและนายหน้าประกันวินาศภัย รวมถึงส่อมวลชนทุกแขนง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาท้งภาครัฐและภาคเอกชน
ื
ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ร่วมกัน รวมทั้งเสริมสร้างให้เกิดความเข้าใจที่ดีเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา
ิ
ั
ี
ั
่
ั
ั
ี
ั
ธุรกจประกนวินาศภยไทยให้มความม่นคงและยงยืนเคียงคู่กับเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี 2558 เป็นการสัมมนาประกันภัย คร้งท่ 25
ภายใต้หัวข้อ “Digitalization for the Thai Insurance Industry” พร้อมทั้งเป็นการจัดงานที่ยิ่งใหญ่กว่าทุกปี เนื่องจากเป็นโอกาสฉลอง
ครบรอบ 48 ปี การก่อตั้งสมาคมประกันวินาศภัยไทย ที่ภาคธุรกิจฯ ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจประกันภัย
การสัมมนาเริ่มขึ้นโดย นายอานนท์ วังวสุ นายกสมาคมประกันวินาศภัยไทย กล่าวเปิดการสัมมนา โดยมีใจความส�าคัญว่า การด�าเนิน
การธุรกิจในอนาคต อินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ และสื่อดิจิทัล จะเข้ามามีอิทธิพลในการประกอบธุรกิจประกันภัยมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้น ธุรกิจ
ประกันภัยจะต้องมีการเปล่ยนแปลงแนวทางการประกอบธุรกิจ เพ่อก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกท่เรียกว่ายุคโลกาภิวัตน์ โดยทางสมาคม
ื
ี
ี
ประกันวินาศภัยไทยได้มีการจัดตั้งคณะท�างานขึ้นเพื่อด�าเนินการจัดท�าแนวทางการออกกรมธรรม์ประกันภัยแบบออนไลน์ หรือระบบ E-Policy
เพื่อท�าให้เกิดความรวมเร็วในการให้บริการแก่ผู้เอาประกันภัย รวมทั้งลดต้นทุนในการด�าเนินงานของบริษัทประกันภัย
�
ในช่วงแรกของการสัมมนาสมาคมประกันวินาศภัยไทยได้รับเกียรติจาก นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจ
�
ื
ี
การคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษ เร่อง “นโยบายด้านเศรษฐกิจและทิศทางประเทศไทย” โดยมีใจความว่า ในช่วง 30 ปีท่ผ่านมาน้น ภาวะเศรษฐกิจ
ั
ของประเทศไทยประสบวิกฤตการณ์ต่าง ๆ เข้ามาอยู่เสมอ เช่น ในช่วงปี พ.ศ. 2527 ประเทศไทยประสบกับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจจากสถาบัน
การเงิน ปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจทางการเงินในทวีปเอเชีย และเมื่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยเริ่มฟื้น
ตัว ประเทศไทยก็ยังประสบกับวิกฤตการณ์อื่น ๆ เข้ามาอยู่เรื่อย ๆ อาทิ วิกฤตมหาอุทกภัยเมื่อปี พ.ศ. 2554 วิกฤตทางการเมืองในปี พ.ศ. 2556
ั
ึ
ท้งน้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ประกาศว่าปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีภาวะเศรษฐกิจเติบโตข้น
�
ี
ประมาณ 2.9 % แต่อย่างไรก็ตาม อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยควรมีการขยายตัวมากกว่าน้ ดังน้น ทางภาครัฐจึงได้ม ี
ี
ั
การส่งเสริมการเพิ่มทุนให้แก่กองทุนหมู่บ้าน การให้กู้ยืมเงินโดยคิดดอกเบี้ย 0% การส่งเสริมภาคธุรกิจ SMEs เพื่อกระตุ้นภาวะเศรษฐกิจให้มี
การขยายการเจริญเติบโตขึ้น เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ประเทศไทยก�าลังเผชิญ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส�าคัญ
ในการพัฒนาประเทศที่ส�าคัญ ได้แก่ ภาวะประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย การขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นสิ่งที่ภาครัฐก�าลังพิจารณา
ื
�
เพ่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว สาหรับความสาคัญของธุรกิจประกันภัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจน้น ภาคธุรกิจประกันภัยได้มีโครงการร่วมกับภาครัฐเพ่อ
ั
ื
�
กระตุ้นเศรษฐกิจในหลายโครงการ อาทิ การประกันภัยข้าวนาปี การประกันภัยนักท่องเท่ยว ซ่งเป็นโครงการท่ประสบผลออกมาอย่างเป็น
ี
ึ
ี
รูปธรรม
ื
ในช่วงท่สองของการสัมมนาสมาคมประกันวินาศภัยไทยได้รับเกียรติจาก ดร.สมเกียรติ ต้งกิจวาณิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพ่อการพัฒนา
ี
ั
ประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) บรรยาย เร่อง “Digital Economy in Thailand and Global Trend” โดยมีใจความว่า เศรษฐกิจดิจิทัล คือ
ื
�
ั
ึ
การผลิตและการใช้ข้อมูลดิจิทัลในการประกอบธุรกิจ เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตในการประกอบธุรกิจ ซ่งบริษัทช้นนาหลายแห่งได้เข้าสู่ยุคของ
เศรษฐกิจดิจิทัลแล้ว เช่น UBER ซึ่งเป็นบริษัทจับคู่คนขับรถยนต์กับผู้โดยสาร ที่ใช้อินเทอร์เน็ตและโปรแกรมในการประกอบธุรกิจ ยิ่งในปัจจุบัน
ประชากรของประเทศมีการใช้สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต อุปกรณ์ดิจิทัลอื่น ๆ ก็ยิ่งท�าให้คนไทยเข้าถึงเศรษฐกิจดิจิทัลได้ง่ายขึ้น
4 วารสารประกันภัย ฉบับที่ 129